แนวข้อสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป

แนวข้อสอบ ตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
1)  การออกหนังสือรับรอง  ต้องติดรูปถ่ายหรือไม่ตามระเบียบงานสารบรรณ
 1.
ต้องติดทุกครั้งตามเรียบ                                       2. ไม่จำเป็น
 3.
ในกรณีเป็นเรื่องสำคัญที่ออกให้บุคคลให้ติดรูปถ่ายด้วย        4. ให้อยู่ในดุลพินิจของเจ้าหน้าที่
 5.
แล้วแต่ความต้องการของผู้ช่วย
2) 
คำว่า " งบประมาณเกินดุล " หมายความว่าอย่างไร
1.
ปริมาณเงินไหลเข้าประเทศมากกว่าไหลออก               2.มูลค่าสินค้าส่งออกมากกว่ามูลค่าสินค้าสินค้านำเข้า
3.
รัฐบาลมีรายได้มากกว่ารายจ่าย                                     4.ประเทศมีรายได้มากกว่ารายจ่าย
  5.
รายรับของรัฐบาลมากกว่ารายจ่ายของรัฐบาล
3)
คำว่า " งบประมาณสมดุล " หมายความว่าอย่างไร
1.
ปริมาณเงินไหลเข้าประเทศมากกว่าไหลออก               2.มูลค่าสินค้าส่งออกมากกว่ามูลค่าสินค้าสินค้านำเข้า
3.
รัฐบาลมีรายได้มากกว่ารายจ่าย                                      4.ประเทศมีรายได้มากกว่ารายจ่าย
5.
รายรับของรัฐบาลมากกว่ารายจ่ายของรัฐบาล
4)
ประเทศกำลังพัฒนาส่วนใหญ่มักขาดดุลการค้าเป็นเพราะสาเหตุใด
 1.
มีการผลิตและส่งออกสินค้าเกษตรมาก                        2.มีความต้องการนำเข้าสินค้าทุนมาก
 3.
มีความต้องการสินค้าที่ผลิตภายในประเทศมาก          4.มีความต้องการบริโภคสินค้าและบริการมาก
               5.
ประชาชนส่วนใหญ่ดำรงชีพอย่างไม่ประหยัด
5)
ปัจจัยสำคัญที่สุดในการช่วยพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศกำลังพัฒนาได้แก่   
 1.
การเพิ่มขึ้นของกำลังแรงงานทำให้อัตราค่าแรงในประเทศต่ำ
2.
การนำกรรมวิธีในการผลิตใหม่ๆมาใช้ทำให้ต้นทุนการผลิตลดลง
3.
การที่ประชาชนจ่ายเงินเพิ่มขึ้นเพื่อซื้อสินค้าและบริการทำให้อุปสงค์รวมเพิ่มขึ้น
4.
การนำเงินทุนจากต่างประเทศเข้ามามากทำให้อัตราดอกเบี้ยในประเทศลดลง     5.ไม่มีข้อใดถูก  act group
6)
ข้อใดกล่าวถึงความหมายในการพัฒนา เศรษฐกิจได้ดีที่สุด
1.
รายได้ประชาชาติที่แท้จริงเพิ่มขึ้นพร้อมๆกับประชากรเพิ่มขึ้น
2.
รายได้ประชาชาติต่อหัวสูงขึ้นพร้อมกับภาวะเงินเฟ้อมีอัตราสูง
3.
รายได้ประชาชาติต่อหัวเพิ่มขึ้นพร้อมๆกับการแบ่งปันรายได้เท่าเทียมกันมากขึ้น
4.
รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้นพร้อมกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในอัตราสูง
5.
มีการส่งออกสินค้าการเกษตรเพิ่มมากขึ้น
7)
ข้อใดเป็นลักษณะสำคัญที่สุดของการปกครองระบอบประชาธิปไตย
1.
การยอมให้ประชาชนเป็นเจ้าของอำนาจประชาธิปไตย
2.
การยอมให้ประชาชนมีสิทธิ์และเสรีภาพเต็มที่
3.
การยอมให้ประชาชนได้เลือกตั้งผู้แทนราษฎรโดยตรง
4.
การถือว่าผู้แทนราษฎรเป็นผู้แทนของปวงชน
5.
การถือว่าอำนาจอธิปไตยมาจากพรรคที่มีเสียงข้างมาก
8)
ในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบรัฐสภากรณีใดที่ทำให้คณะรัฐมนตรีต้องพ้นตำแหน่ง
1.
เมื่อมีการยุบสภา                                           2.เมื่อรัฐมนตรีจำนวนมากกว่ากึ่งหนึ่งลาออก

3.
เมื่อรัฐสภามีมติไม่ไว้วางใจ                          4.เมื่อรัฐสภาไม่รับหลักการร่าง พ.ร.บ.ที่รัฐบาลเสมอ  วันนรัตน์ เเอ็คกรุ๊ป
5.
เมื่อรัฐมนตรีในคณะมีมลทินมัวหมอง
9)
การยุบสภาเป็นวิธีการหนึ่งที่รัฐบาลทำได้ในกรณีมีความขัดแย้งกับสภาผู้แทนราษฎร จุดมุ่งหมายในการยุบสภา คืออะไร
1.
เพื่อให้ประชาชนตัดสินใจเลือกตั้งใหม่            2.เพื่อให้รัฐบาลปรับปรุงคณะรัฐมนตรี
3.
เพื่อให้ ส.ส. สำนึกในบทบาทที่ดี                     4.เพื่อยกเลิกการปกครองแบบรัฐสภา
5.
เพื่อปรับปรุงบทบาทของรัฐสภาในการปกครองประเทศ
10)
คำว่า " คณะรัฐมนตรีต้องรับผิดชอบร่วมกันต่อรัฐสภา " หมายความว่าอย่างไร
1.
คณะรัฐมนตรีต้องบริหารบ้านเมืองภายใต้การควบคุมของรัฐสภา
2.
คณะรัฐมนตรีอาจถูกรัฐสภาอภิปรายและลงมติไม่ไว้วางใจ
3.
คณะรัฐมนตรีอาจอยู่ในตำแหน่งได้ถ้ารัฐสภาไม่ไว้วางใจ
4.
คณะรัฐมนตรีต้องรายงานการปฏิบัติงานต่อรัฐสภา
5.
รัฐสภามีอำนาจตรวจสอบและกำหนดภารกิจให้ปฏิบัติ
11)
หลักการจัดระเบียบบริหารราชการข้อใด ที่จะทำให้ประชาชนมีโอกาสปกครองตนเองตามวิถีทางประชาธิปไตย ได้ดีที่สุด
1.
หลักการรวมอำนาจปกครองไว้ที่ส่วนกลาง 
2.
หลักการรวมอำนาจปกครองปกครองไว้ที่บุคคลคนเดียว
3.
หลักการกระจายอำนาจปกครองให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น
4.
หลักการรวมอำนาจไว้ที่พรรค ๆ เดียว     
5.
หลักการให้ฝ่ายการเมืองมีอำนาจเหนือราชการประจำ
12)
เพราะเหตุใดมนุษย์จึงต้องอยู่รวมกันเป็นสังคม
1.
ต้องพึ่งพาอาศัยผู้อื่น ไม่สามารถอยู่คนเดียวได้               2.ต้องช่วยเหลือแบ่งงานกันทำ
3.
ต้องการความอยู่รอด                                                       4.ต้องร่วมมือกันสร้างวัฒนธรรม
5.
ต้องอยู่รวมกันโดยธรรมชาติ
13)
สถาบันสังคม จะมั่นคงอยู่ได้ขึ้นอยู่กับข้อใด
1.
การจัดระเบียบกฎเกณฑ์ทางสังคม                                2.แนวทางและแบบแผนการปฏิบัติของคนในสังคม
2.
การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม                                              4.บุคคลเข้าใจจุดประสงค์ของสถาบัน
5.
บุคคลต้องช่วยเหลือเอื้อเฟื้อซึ่งกันและกัน
14)
รายได้ประชาชาติ (National income) วัดอะไร
1.
การกระจายรายได้ของประชากรในประเทศ
2.
อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ
3.
อัตราความก้าวหน้าของเทคโนโลยีของประเทศ
4.
มาตรฐานการครองชีพของประชาชนในประเทศ
5.
ความสามารถในการสร้างรายได้ของประชากร
15)
ข้อใดแสดงว่า ประเทศ ก. พัฒนามากกว่า ประเทศ ข.
1.
ประเทศ ก.  เป็นประเทศอุตสาหกรรม ประเทศ ข.  เป็นประเทศเกษตรกรรม
2.
จำนวนประชากรประเทศ ก. มากกว่าประเทศ ข.

3.
รายได้ประชาชาติเฉลี่ยต่อหัวประเทศ กง มากกว่าประเทศ ข.
4..
ประชาชนในประเทศ ก. มีคุณภาพมากกว่าประเทศ ข.
5.
ประชาชนในประเทศ ก. มี สุขภาพดีกว่าประเทศ ข.

เฉลย.. 1. 3      2. 5     3. 5     4. 2     5. 4    6. 3    7. 1     8. 1     9.1     10. 1     11. 3     12. 1    13. 2    14. 2    15. 3
จัดไปอีกชุด

1. ผลงานการศึกษาที่ถือว่ามีชื่อเสียงที่สุดในยุคการจัดการตามแนวมนุษย์สัมพันธ์(Human Relation Approach) คือ การทดลองที่เรียกว่า
                1. One Best way Study                                       2. Scientific Study
                3. Mixed-Scanning Experiment                       4. Pareto Study
                5. Hawthorne Experiment

2)
นักทฤษฎีใดมิใช่นักทฤษฎีตามแนวการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)

                1. Herbert Simon                                 2. Henri Fayol

                3. Frederick W. Taylor                         4. Luter Gulic
                5.3 Max Weber


3) นักรัฐประศาสนศาสตร์กลุ่มที่ประกาศแนวความคิด New Public Administration เกิดจากการประชุมที่เมืองใด act

                1. New York                                                         2. Pitsburg

                3. Minnowbrook                                                 4. Minesota

                5. London

4)
ทฤษฎีการบริหารที่เน้นว่าผู้นำเท่านั้นเป็นผู้กำหนดนโยบายสาธารณะ ประชาชนโดยทั่วไปและไม่มีความรู้เกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ คือ

                1. Group Theory                                                  2. Elite Theory

                3. Systerm Theory                                               4. Institutional Theory

                5. Policy Group Theory

5)
ข้อใดมิใช่รูปวิธีการตัดสินวินิจฉัยนโยบายสาธารณะที่ถูกต้อง

                1.
การตัดสินวินิจฉัยแบบใช้หลักสมเหตุสมผล

                2.
การตัดสินวินิจฉัยแบบใช้หลักส่วนเพิ่มขึ้น

                3.
การตัดสินวินิจฉัยแบบใช้หลักผสมกลั่นกรอง

                4.
การตัดสินวินิจฉัยแบบใช้หลักตามสถานการณ์

                5.
ไม่มีข้อถูกต้อง

6)
ข้อใดมิใช่ประโยชน์ของการวางแผนตามทฤษฎีการบริหาร 

                1. เพื่ออธิบาย (Clarity)                                        2. เพื่อตกลงใจ (Determine)

                3.
เพื่อให้มีนโยบาย (Policy)                               4. เพื่ออ้างอิงข้อเท็จจริง (Fact)

                5.
เพื่อให้เกิดการมองการณ์ไกล (Anticipation)

 

7)
บุคคลแรกที่ใช้คำว่า Development Administration (การบริหารการพัฒนา) คือ

                1. Gerore Gant                                     2. Max Weber

                3. Fred W. Riggs                  4. Henry L. Gant

                5. Arther C. Clark

8)
ข้อใดมิได้ถือว่าเป็นลักษณะพิเศษของ การบริหารการพัฒนา นี้ ต่างจากการบริหารราชการแบบดั้งเดิม

                1.
มีการบริหารงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาประเทศ

                2.
มีลักษณะอ่อนไหวปรับตัวให้เข้ากับ สถานการณ์สภาวะแวดล้อมได้ง่าย

                3.
ต้องการความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ

                4.
การบริหารเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง

                5.
ไม่มีข้อถูก

9)
ข้อใดเป็นคุณลักษณะของนักบริหารการพัฒนา

                1.
เป็นผู้มีความรู้ความสามารถและความชำนาญ

                2.
เป็นผู้มีความคิดริเริ่มในทางสร้างสรรค์

                3.
เป็นผู้มีมนุษย์สัมพันธ์ดีเลิศ

                4.
เป็นผู้มีความสารถในการตัดสินใจได้รวดเร็วและไม่ผิดพลาด

                5.
ถูกทุกข้อ

10)
ข้อใดมิใช่ลักษณะเด่นของระบบคุณธรรม(Merit System)

                1.
หลักความเสมอภาค(Equality of  Opportunity)

                2.
หลักความสามารถ(Competence)

                3.
หลักการประสานประโยชน์(Interest Balancing)

                4.
หลักความมั่งคง(Security on tenure)

                5.
หลักความเป็นกลางทางการเมือง(Political neutrality)

11)
ข้อใดไม่จัดเป็นองค์ประกอบของการพัฒนาองค์การ(OD)

                1.
งบประมาณ                                       2. หัวหน้างาน

                3.
ผู้ปฏิบัติงานทุกคน                           4. นักปฏิบัติการ OD

                5.
โครงการพัฒนาองค์การ ปลัดศุภวัฒน์

12)
ตามทฤษฎีการบริหารงานตามวัตถุประสงค์ (MBO) ผู้บริหารจะบรรลุวัตถุประสงค์ได้ ต้องอาศัยกิจกรรมการบริหาร 4 ประการ คือ

                1.
การวางแผน การปฏิบัติตามแผน การอำนวยการ และการควบคุม

                2.
การวางแผน การจัดรูปงาน การปฏิบัติตามแผน และการอำนวยการ

                3.
การวางแผน การจัดรูปงาน การอำนวยการ และการปฏิวัติ

                4.
การวางแผน การจัดรูปงาน การอำนวยการ และการควบคุม

                5.
ไม่มีข้อถูก

13)
ข้อใดไม่ใช่วิธีก่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการบริหารตามทฤษฎีการบริหารแบบมีส่วนร่วม(Participative Management)

                1.
การชี้แนะและเสนองาน                  2. การให้กลุ่มเสนอแนะความคิดเห็น

                3.
การให้กลุ่มควบคุมกันเอง                               4. การออกคำสั่งให้ทุกคนเข้าร่วมบริหารงาน

                5.
การจัดให้เจ้าหน้าที่ได้ปฏิบัติงานที่เหมาะสมกับความรู้ความสามารถ

14)
ปัจจัยที่สำคัญที่สุดของการปฏิบัติงานเพื่อแก้ปัญหาวิกฤตการณ์ หรือบริหารงานภายใต้ภาวะข้อจำกัด

                1.
โอกาส                               2. สถานการณ์                                      3. ผู้บริหาร

                4.
เวลา                                    5. วัสดุ

15)
กลุ่มกิจกรรมคิวซี(Q.C. Circle) กลุ่มแรกในญี่ปุ่นตั้งขึ้นในปีใด actcorner

                1.
พ.ศ.2503           2. พ.ศ.2504           3. พ.ศ.2505           4. พ.ศ. 2511          5. พ.ศ.2514

16)
หลักการพื้นฐานประการหนึ่งของกิจกรรมคิวซี คือระบบบริหารที่มีหลักการว่า

                1. No Job No Money                          2. No Problem No Congress

                3. No Man No Progress                      4. No Problem No  Progress

                5.
ไม่มีข้อถูก

17)
วงจรเดมมิ่ง หรือวงจร PDCA อักษร P ในที่นี้หมายถึง

                1. Plan                    2. Policy                3. Private               4. Playing Roll                     5. Package

18)
ข้อใดมิใช่เทคนิคที่จะเป็นสำคัญการทำกิจกรรมคิวซี

                1.
เทคนิคทางสถิติ                                2. เทคนิคการระดมสมอง

                3.
เทคนิคการคิดสร้างสรรค์               4. เทคนิคการทำงานร่วมกันเป็นทีม

                5.
เทคนิคการทำงานในสภาวะจำกัด

19) Gantt’s Chart
แบ่งออกเป็น 4 ประเภทใหญ่ๆ คือ

1.
ตารางบันทึกการทำงานของคนและเครื่องจักร,ตารางแผนผังงาน, ตารางคุมงานประมาณ และตารางความก้าวหน้างาน

2.
ตารางบันทึกการทำงานของคน,ตารางแผนผังงาน, ตารางคุมงานและตามก้าวหน้างาน

3.
ตารางบันทึกการทำงานของเครื่องจักร,ตารางคุมงานคอย, ตารางแผนงานและความก้าวหน้า

4. 
ตารางบันทึกการทำงานของคนและเครื่องจักร,ตารางแผนผังงาน, ตารางคุมงานคอยและตารางความก้าวหน้างาน

5.
ตารางบันทึกการทำงานของคนและเครื่องจักร,ตารางคุมงานคอย, ตารางคุมงบประมาณ ตารางความก้าวหน้างาน

20)
ข้อใดไม่ใช่วิธีประมาณเวลา ในเทคนิคการประเมินผลและการตรวจสอบผลงาน (PERT)

                1.
เวลาที่คาดว่าจะทำได้เร็วที่สุด(Optimistic time)

                2.
เวลาที่คาดว่าประหยัดที่สุด (Economic time)

                3.
เวลาที่คาดว่าใกล้เคียงที่สุด(Most likely time)

                4.
เวลาที่คาดว่าช้าที่สุด( Pessimistic time)

                5.
ไม่มีข้อถูก

21)
ข้อใดคือลำดับขั้นตอนที่ถูกต้องระบบเทคนิควิเคราะห์เส้นทางวิกฤต (CPM) 

1.
การจัดแบ่งงานของโครงการ, การกำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการ, การจัดลำดับกิจกรรม, การสร้างข่ายงานและวีถีวิกฤต

2.
การกำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการ, การจัดแบ่งงานของโครงการ, การสร้างข่ายงาน ,   การจัดลำดับกิจกรรมและหาวีถีวิกฤต

3.
การกำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการ, การจัดแบ่งงานของโครงการ, การหาวีถีวิกฤตจัดลำดับกิจกรรมและการสร้างข่ายงาน

4.
การกำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการ, การจัดแบ่งงานของโครงการ, การจัดลำดับกิจกรรม, การหาวีถีวิกฤตและการสร้างข่ายงาน

5.
การกำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการ, การจัดแบ่งงานของโครงการ, การจัดลำดับกิจกรรมและหาวีถีวิกฤต

22)
การบริหารระบบ MIS สาขาที่เน้นเรื่องการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์, การสื่อสารข้อมูลและระบบสำนักงานอัตโนมัติชื่อเรียกว่า

                1. IRM : Information Resources Management

                2. DSS : Decision Support System

                3. DP : Data Processing

                4. CPM : Critical Path

                5.
ไม่มีข้อถูก

23)
ข้อใดมิใช่ปัจจัยสำคัญของการพิจารณากำหนดโครงสร้างขององค์การ

                1.
ระบบการทำงานที่มีประสิทธิภาพ                2. ระบบการติดต่อสื่อสารที่ดี

                3.
ความสะดวกสบายของผู้ร่วมงาน  4. สมาชิกแต่ละคนควรได้ทำงานที่ตนพึงพอใจ

                5.
เอกลักษณ์ขององค์การ
 

24)
ลำดับขั้นความต้องการของมนุษย์ 5 ลำดับของ Maslow ตามทฤษฎีของ Hierarchy of need คือ

                1. Basic Needs, Security Needs, Esteem Needs, Love Needs and Self Actualization Needs

                2. Basic Needs, Love Needs, Security Needs, Esteem Needs and Self Actualization Needs

                3. Basic Needs, Love Needs, Self Actualization Needs, Security Needs and Esteem Needs

                4. Basic Needs, Security Needs, Love Needs, Esteem Needs and Self Actualization Needs

                5. Basic Needs, Self Actualization Needs, Security Needs, Love Needs and Esteem Needs

25)
ต่อไปนี้ข้อใดเป็นปัจจัย Hygiene Factors ตามทฤษฎี Two Factors Theory ของ Herzberg

                1.
เงิน, ลักษณะงาน, การบังคับบัญชา, ความก้าวหน้า

                2.
เงิน, การบังคับบัญชา, การยกย่อง, ความมั่งคง

                3.
เงิน, การบังคับบัญชา, ความมั่งคง, ความรับผิดชอบ

                4.
เงิน, การบังคับบัญชา, ความมั่งคง, นโยบายและการบริหาร

                5.
เงิน, การบังคับบัญชา, ความสำเร็จ, นโยบายและการบริหาร

26)
ผู้ที่เสนอทฤษฎี Expectancy Theory ซึ่งมุ่งศึกษาว่า เมื่อมนุษย์มีความต้องการอย่างใดอย่างหนึ่งขึ้นมา เงื่อนไขที่กำหนดว่าเขาจะแสดงพฤติกรรมเพื่อผ่อนคลายความต้องการนั้นหรือไม่ ก็คือ ความคาดหวังเกี่ยวกับผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นจากการแสดงพฤติกรรมใดๆนั้นได้แก่

                1. McGregor         2. Maslow             3. Vroom               4. Herzberg           5. Chester I. Barnard

27)
คำว่า “Communis” ซึ่งเป็นภาษาละติน อันเป็นรากคำศัพท์ของคำว่า “ Communication” แปลว่าอะไร

                1.
การสื่อสาร                        2. การสร้างอย่างสามัญ

                3.
กฎเกณฑ์                           4. การติดต่อกัน                                    5. ข่าวสาร

28)
การติดต่อสื่อสารแบบธรรมดาและง่ายที่สุด คือ

                1.
การส่งจดหมาย(Mail)                                     2. การโทรศัพท์(Telephone)

                3.
การโทรเลข(Telegrame)                 4. การใช้นกพิราบสื่อสาร(Peageon)

                5.
การติดต่อสื่อสารแบบตัวต่อตัว ( Face-to-Face)         

29) 
ข้อใดคือความหมายที่ถูกต้อง

                1.
การประสานงานระดับบนลงมาล่าง(Top-down Coordination)

                2. 
การประสานงานระดับสูงไปต่ำ(Hight-Low Coordination)

                3.
การประสานงานในระดับเดียวกัน(Horzontal Coordination)

                4.
การประสานงานแบบคู่ขนาน(Pararel Coordination)

                5.
ไม่มีข้อถูก

30)
ผู้บังคับบัญชาที่ถือว่า ผู้ช่วย หมายถึง ผู้ใต้บังคับบัญชา ซึ่งเป็นผู้ช่วยของหัวหน้า และช่วยให้งานของหัวหน้าสำเร็จ ไม่ใช่งานของตนสำเร็จคือผู้นำแบบ

                1.
แบบอัตตนิยม(Autocratic Leaders)                              2. แบบเสรีนิยม(Laissez-fairs Leaders)

                3.
แบบประชาธิปไตย(Democratic Leaders)   4. แบบปฏิฐาน( Positive- Leaders)

                5.
ไม่มีข้อถูก




1.   ..ภาษีโรงเรือนและที่ดินใช้บังคับเมื่อ…………
 
    .  1  มกราคม  ..  2475              
      .  1  เมษายน  ..  2475
      .  31  ธันวาคม  .. 2475             
      .  1  มกราคม  .. 2476
2.   “ผู้รับประเมิน”  หมายความว่า ………
    ผู้เสียภาษี                               
    ผู้ให้เช่าทรัพย์สิน
    ผู้เช่าทรัพย์สิน                           
    บุคคลผู้พึงชำระค่าภาษี
3.   “พนักงานเก็บภาษี”  ตาม พ... ภาษีโรงเรือน  หมายถึง………
    พนักงานประเมินภาษี                           
    พนักงานเร่งรัดภาษี
    พนักงานจัดเก็บเร่งรัดให้ชำระค่าภาษี              
    พนักงานจัดเก็บรับชำระรวมทั้งเร่งรัดให้ชำระค่าภาษี
4.   ทรัพย์สินต่อไปนี้  ข้อใดต้องเสียภาษีโรงเรือนฯ
    แพที่คนใช้อยู่อาศัย                              
    ตึกแถวอาคารพาณิชย์
    โกดังเก็บสินค้าไม่มีคนอยู่อาศัย           
    ถูกทุกข้อ
5.   ข้อต่อไปนี้มีโรงเรือนประเภทใดบ้าง  ที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีโรงเรือน
    โรงเรือนที่ให้ญาติอยู่อาศัยไม่เก็บค่าเช่า            
    โรงเรือนที่ใช้เป็นสถานที่ประกอบการค้า
    โรงเรือนที่ใช้เก็บสินค้า                          
    ไม่มีข้อใดถูก
6.   ตามพระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน  ให้แบ่งทรัพย์สินออกเป็น    
    .  1  ประเภท              .  2  ประเภท  .  3  ประเภท          .  4  ประเภท
7.   รัฐมนตรีผู้รักษาการตาม พ... ภาษีโรงเรือน  คือ
    รมตการคลัง                          
    รมต. มหาดไทย
    รมต. การคลังและมหาดไทย              
    ไม่มีข้อใดถูก
แนวข้อสอบจัดเก็บรายได้
ชุดที่ 1
1.   รายได้ที่องค์การบริหารส่วนตำบลจัดเก็บเอง ได้แก่
ก.   ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีสุราและภาษีสรรพสามิต
ข.   ภาษีป้าย อากรการฆ่าสัตว์เลี้ยง ค่าธรรมเนียมประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ค.   ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน อากรการฆ่าสัตว์
ง.   ภาษีโรงเรือนและที่ดิน อากรประทานบัตร ภาษีบำรุงท้องที่
จ.   ถูกทั้งข้อ ก. และข้อ ข.
2.   ต่อไปนี้อะไรเป็นรายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบล
        ก.   ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่
        ข.   อากรการฆ่าสัตว์ ภาษีป้าย
        ค.   ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์ และล้อเลื่อน ค่าธรรมเนียมในอนุญาตในการเล่นการพนัน
        ง.   ภาษีมูลค่าเพิ่ม และธุรกิจเฉพาะ ภาษีสุราและภาษีสรรพสามิต
        จ.   ถูกทุกข้อ
3.   รายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้องค์การบริหารส่วนตำบลประกอบด้วย
        ก.   ภาษีป้าย ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน
        ข.   ภาษีสุรา ภาษีสรรพสามิต ภาษีมูลค่าเพิ่ม และธุรกิจเฉพาะ
ค.   ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์ และล้อเลื่อน ค่าธรรมเนียมประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อ   สุขภาพ
        ง.   ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีมูลค่าเพิ่ม และธุรกิจเฉพาะ
        จ.   ถูกทั้งข้อ ข. และข้อ ค.
4.   องค์การบริหารส่วนตำบลมีแหล่งรายได้มาจากอะไรบ้าง
        ก.   รายได้จากภาษีอากร                                             ข.   รายได้จากทรัพย์สิน
        ค.   รายได้จากกิจการพาณิชย์                                     ง.   รายได้จากกิจการสาธารณูปโภค จ.   ถูกทุกข้อ
5.   ต่อไปนี้อะไรที่ไม่ใช่ โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ตามความหมายของพระราชบัญญัติ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน
        ก.   โรงแรม อพาร์ทเม้นท์ ร้านค้า
        ข.   หอพัก บ้าน ตึกแถว
        ค.   สำนักงาน คลังการค้า ท่าเรือ
        ง.   แพ คานเรือ ถังเก็บน้ำมัน
        จ.   ไม่มีข้อใดถูกต้อง
6.    พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดินบังคับใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. ใด
        ก.   พ.ศ. 2475                                                               ข.   พ.ศ. 2485
        ค.   พ.ศ. 2508                                                               ง.   พ.ศ. 2510
        จ.   พ.ศ. 2512
7.   ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ความหมายใดถูกต้องมากที่สุด
        ก.   ภาษีที่เก็บจากค่าเช่านา
        ข.   ภาษีที่เก็บจากผู้ที่มีรายได้จากการทำการค้า
        ค.   ภาษีที่เก็บจากการทำประโยชน์ที่ดิน
        ง.   ภาษีที่เก็บจากโรงเรือนและที่ดินที่ใช้ต่อเนื่อง
        จ.   ถูกทั้งข้อ ข. และข้อ ค.
8.   หลักการพิจารณาว่าทรัพย์สินใดอยู่ในข่ายต้องเสียภาษีโรงเรือนที่ดินหรือไม่ อย่างไร มีหลักพิจารณาคือ
        ก.   ต้องมีทรัพย์สินได้แก่โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น
        ข.   ต้องมีที่ดินซึ่งใช้ต่อเนื่องกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างนั้น
        ค.   มีบทยกเว้นตามกฎหมายว่าด้วยภาษีโรงเรือนและที่ดินหรือไม่
        ง.    ถูกทั้งข้อ ก, ,
        จ.   ถูกทั้งข้อ ก, ,
9.   ที่ดินซึ่งใช้ต่อเนื่องกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นๆ หมายถึง
        ก.   ที่ดินซึ่งเป็นที่ปลูกสร้างโรงเรือน
        ข.   ที่ดินซึ่งเป็นที่ปลูกสิ่งปลูกสร้าง
        ค.   ที่ดินบริเวณต่อเนื่องกันซึ่งปกติใช้ไปกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้าง
ง.   ที่ดิน ที่อยู่ใต้โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างซึ่งปกติใช้ไปด้วยกันกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างนั้น
        จ.   ถูกทุกข้อ
10.  ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ.2475 คือใคร
        ก.   รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง                       ข.   รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
        ค.   รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
        ง.    รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
        จ.    นายกรัฐมนตรี
11.  หน่วยงานที่มีหน้าที่จัดเก็บภาษีโรงเรือน และที่ดินคือ
        ก.   องค์การบริหารส่วนตำบล                                    ข.   เทศบาล                           ค.   เมืองพัทยา                                                       ง.   กรุงเทพมหานคร                                                  จ.    ถูกทุกข้อ
12.      ทรัพย์สินใดต่อไปนี้ได้รับการยกเว้นภาษีโรงเรือน
            ก.   การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค                                       ข.   การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย
            ค.   การสื่อสารแห่งประเทศไทย                            ง.   อ่างเก็บน้ำเขื่อนต่างๆ ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต
            จ.   ที่ดินที่ใช้ต่อเนื่องกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
12.   ทรัพย์สินใดต่อไปนี้รับการยกเว้นภาษีโรงเรือน
            ก.   การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค                                       ข.   การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย
            ค.   การสื่อสารแห่งประเทศไทย                            ง.   อ่างเก็บน้ำเขื่อนต่างๆ ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต
            จ.   ที่ดินที่ใช้ต่อเนื่องกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
13.   ทรัพย์สินใดต่อไปนี้ต้องเสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน
            ก.    โรงพยาบาลสาธารณะ และโรงเรียนสาธารณะซึ่งรายได้หาผลกำไรส่วนบุคคล
            ข.    ทรัพย์สินของรัฐบาลซึ่งใช้ในกิจการของรัฐหรือสาธารณะ
            ค.    โรงเรือนทางการเคหะแห่งชาติที่ซื้ออาศัยอยู่เองโดยไม่ได้ไว้สินค้าหรือประกอบการอุตสาหกรรมหรือประกอบกิจการเพื่อหารายได้
            ง.     โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นๆ ที่เจ้าของเองหรือให้ผู้แทนอยู่เฝ้ารักษาและซึ่งมิได้ใช้เป็นที่ไว้สินค้าหรือประกอบอุตสาหกรรม
            จ.    ไม่มีข้อใดถูกต้อง
14.   ผู้มีหน้าที่เสียภาษีโรงเรือนและที่ดินข้อใดถูกต้องที่สุด คือใคร
            ก.   เจ้าของโรงเรือน                                 ข.   เจ้าของที่ดิน                                    ค.   เจ้าของทรัพย์สิน
            ง.   ผู้ครอบครองโรงเรือน                       จ.   ผู้ครอบครองที่ดิน
15.      กรณีโรงเรือนหรือสิ่งปลุกสร้างอย่างอื่นๆ กับที่ดินที่ใช้ต่อเนื่องเป็นคนละเจ้าของกัน ผู้มีหน้าที่เสียภาษีคือใคร
            ก.  เจ้าของโรงเรือน                                  ข.   เจ้าของที่ดิน                                    ค. ผู้ครอบครองโรงเรือน    
            ง.   ผู้ครอบครองที่ดิน                              จ.ไม่มีข้อใดถูกต้อง
16.      ผู้มีหน้าที่เสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน มีหน้าที่ต้องยื่นแบบพิมพ์เพื่อแสดงรายการทรัพย์สิน ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ภายในเดือนใดของปี
            ก. ภายในเดือน  มกราคม ของทุกปี                        ข. ภายในเดือน กุมภาพันธ์ ของทุกปี
            ค. ภายในเดือน  เมษายน ของทุกปี                         ง. ภายในเดือน  พฤษภาคม  ของทุกปี
            จ. ภายในเดือน  เมษายน-พฤษภาคม ของทุกปี
17.   การยื่นแบบพิมพ์เพื่อแจ้งรายการทรัพย์สินเพื่อเสียภาษีโรงเรือนและใช้ที่ดินใช้แบบพิมพ์ใด
            ก.   ภ.ร.ด. 1               ข.   ภ.ร.ด. 2           ค.   ภ.ร.ด. 3           ง.   ภ.ร.ด. 4            จ.   ภ.ร.ด. 1
18.   ผู้ที่มีหน้าที่เสียภาษีโรงเรือนและที่ดินจะต้องไปชำระภาษีภายในกี่วันนับแต่ได้แจ้งความ     การประเมิน
            ก.   7 วัน                                                     ข.   15 วัน                                              ค.   30 วัน                             
            ง.   60 วัน                                                   จ.   90 วัน
19.   ผู้ที่มีหน้าที่เสียภาษีภายในเวลาที่กฎหมายกำหนดถือว่าเป็นภาษีค้างชำระจะต้องเสียเงินเพิ่มขึ้นอย่างไร
            ก.   ถ้าชำระไม่เกินหนึ่งเดือน นับแต่วันพ้นกำหนดเวลาให้เพิ่มร้อยละ 2.5 ของภาษีที่ค้างชำระ
            ข.   ถ้าชำระเกินหนึ่งเดือนแต่ไม่เกินสองเดือน ให้เพิ่มร้อยละ 5 ของภาษีที่ต้องชำระ
            ค.   ถ้าชำระเกินสองเดือนแต่ไม่เกินสามเดือน ให้เพิ่มร้อยละ 7.5 ของภาษีที่ต้องชำระ
            ง.   ถ้าชำระเกินสามเดือนแต่ไม่เกินสี่เดือน ให้เพิ่มร้อยละ 10 ของภาษีที่ต้องชำระ
            จ.   ถูกทุกข้อ
20.   การ ร้องข้อให้มีการพิจารณาประเมินภาษีโรงเรือนและที่ดินใหม่ (การอุทธรณ์ภาษี) จะต้องดำเนินการภายในกี่วันนับตั้งแต่ได้รับแจ้งความการประเมิน
            ก.   7 วัน                                     ข.   10 วัน                                              ค.   15 วัน                                             
            ง.   30 วัน                                   จ.   60 วัน
21.   การขอลดค่าภาษีสามารถกระทำได้ในกรณีใดบ้าง
            ก. ทรัพย์สินชำรุดต้องมรการซ่อมแซมส่วนสำคัญ
            ข.ทรัพย์สินถูกไฟไหม้ทำลาย
            ค.ทรัพย์สินถูกอุทกภัยเสียหาย
            ง. ทรัพย์สินติดตั้งส่วนควบมีลักษณะเป็นเครื่องจักรเครื่องกำเนิดสินค้าเพื่อใช้การอุตสาหกรรม
            จ.ถูกทุกข้อ
22.    ผู้มีอำนาจวินิจฉัยคำข้อร้องขอพิจารณาประเมินใหม่ (อุทธรณ์) คือใคร
            ก. ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล                                         ข. หัวหน้าส่วนการคลัง อบต.
            ค. นายกองค์การบริหารส่วนตำบล                                        ง. คณะผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบล
            จ. นายอำเภอ
23.      ฐานที่ใช้ในการประเมินภาษีโรงเรือนและที่ดินเรียกว่าอะไร
            ก. ราคาปานกลางที่ดิน                            ข. ค่ารายปี                                             ค. มูลค่าทรัพย์สิน
            ง. ค่าเช่า                                                      จ. ค่าก่อสร้างโรงเรือน
24.      อัตราภาษีโรงเรือนและที่ดินกฎหมายกำหนดไว้อย่างไร
            ก. ร้อยละ 10 ของค่ารายปี                                       ข. ร้อยละ 12.5 ของค่ารายปี
            ค. ร้อยละ 15 ของค่ารายปี                                       ง. ร้อยละ 15.5 ของค่ารายปี
            จ. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
25.      ต่อไปนี้หน่วยงานใดไม่มีหน้าที่เก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน
            ก. เทศบาล                                                 ข. อบต.                                                  ค. กรมสรรพยากร               
            ง. กทม.                                                       จ. เมืองพัทยา
26.   ผู้เสียภาษีจะต้องชำระภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภายในกี่วันนับแต่วัดถัดจากวันที่ได้รับแจ้งความประเมิน
            ก.   7 วัน                                                     ข.   10 วัน                                              ค.   15 วัน                             
            ง.   30 วัน                                                   จ.   60 วัน

27.   คำว่า ที่ดิน ตามพระราชบัญญัติภาษีโรงเรียนและที่ดิน พ.ศ. 2475 ให้กินความถึง
            ก. สระน้ำ                                                   ข. บ่อน้ำ                                 ค. ทางน้ำ                              
            ง. ถูกทั้งข้อ ก, ,                                    จ. ถูกเฉพาะข้อ ก และ ข
28.   จำนวน เงินซึ่งทรัพย์สินพร้อมทั้งสิ่งที่ทำเพิ่มเติมให้ดีขึ้นทั้งสิ้น (ถ้ามี) ซึ่งจะจำหน่ายได้ในขณะเวลาที่กำหนดราคาตาม พ.ร.บ. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. 2475 คือ
            ก. ราคาตลาด                                            ข. ราคาทรัพย์สิน                  ค. มูลค่าทรัพย์สิน
            ง. ราคาค่าเช่า                                             จ. ราคาปานกลางที่ดิน        
29.   ใน พ.ร.บ. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. 2475 คำว่า บ้าน ให้หมายความรวมถึง
            ก. ตึก เรือน                                                ข. เรือน กระท่อม                  ค. โรง                                    
            ง. ร้าน แพ                                                  จ. ถูกทุกข้อ
30.   การ กำหนดกฎเกณฑ์การประเมินค่ารายปีของทรัพย์สินตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวง มหาดไทยประกาศกำหนด ในกรณีที่ค่าเช่าไม่ได้หรือค่าเช่าไม่สมควร หรือเจ้าของประกอบกิจการเองจะต้องใช้วิธีการนำเทียบกับค่าของทรัพย์สินที่ ให้เช่า โดยพิจารณาจากอะไร
            ก. ลักษณะของทรัพย์สิน                         ข. ขนาดพื้นที่                                        ค. ทำเลที่ตั้ง                          
            ง. บริการสาธารณะ                                  จ. ถูกทุกข้อ
31.   ผู้ใดละเลยไม่แสดงข้อความใบแนบแจ้งรายการประเมิน (ภ.ร.ด.2) เว้นแต่เป็นเหตุสุดวิสัย ผู้นั้นมีความผิดต้องระวางโทษอย่างไร
            ก. ปรับไม่เกิน100 บาท                           ข. ปรับไม่เกิน 200 บาท                      ค. ปรับไม่เกิน 500 บาท
            ง. จำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 500 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
            จ. จำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
32.   ค่าภาษีโรงเรือนและที่ดินค้างชำระต่อมาทรัพย์สินนั้นได้โอนกรรมสิทธิ์ไปเป็นของเจ้าของใหม่ ค่าภาษีที่ค้างชำระ ผู้ใดต้องรับผิดชอบ
            ก. เจ้าของคนเก่า                                       ข. เจ้าของรายใหม่                                ค. เจ้าของคนเก่าและคนใหม่             
            ง. ผู้ครอบครองทรัพย์สิน                        จ. เจ้าของทรัพย์สิน
33.   พ.ร.บ. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ.2475 ฉบับที่แก้ไขเพิ่มเติมฉบับสุดท้าย เป็นฉบับที่เท่าไรปีใด
            ก. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2477                             ข. ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2484                         ค. ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2534        
            ง. ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2540                              จ. ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2545
34.   พ.ร.บ.ภาษีโรงเรือนและที่ดินใช้บังคับเมื่อใด
            ก. 1 มกราคม 2475                                   ข. 1 เมษายน 2475                                ค. 22 ตุลาคม 2508              
            ง. 13 ธันวาคม 2515                                 จ. 15 พฤศจิกายน 2510
35.   ความหมายที่ถูกต้องที่สุดของ ผู้รับการประเมิน
            ก. ผู้เช่าทรัพย์สิน                                      ข. ผู้ครอบครองทรัพย์สิน                    ค. บุคคลผู้พึงชำระค่าภาษี
            ง. ผู้ให้เช่าทรัพย์สิน                                  จ. ข้อ ก, ข ถูกต้อง
36.   พนักงานเก็บภาษีตามกฎหมายภาษีโรงเรือนและที่ดินหมายถึง
            ก. พนักงานเร่งรัดภาษี                              ข. พนักงานประเมินภาษี                      ค. พนักงานชำระค่าภาษี     
            ง. พนักงานสำรวจภาษี                             จ. ผู้แต่งตั้งให้มีเจ้าหน้าที่จัดเก็บรับชำระและเร่งรัดภาษี
37.   ใบแจ้งรายการประเมิน ตามกฎหมายภาษีโรงเรือนและที่ดินใช้แบบพิมพ์ใด
            ก.   ภ.ร.ด. 2                                               ข.   ภ.ร.ด. 4                                           ค.   ภ.ร.ด. 8                          
            ง.   ภ.ร.ด. 9                                                จ.   ภ.ร.ด. 12
38.   คำร้องขอให้มีการพิจารณาการประเมินภาษีโรงเรือนและที่ดิน (การอุทธรณ์) ใช้แบบพิมพ์ใด
            ก.   ภ.ร.ด. 4                                               ข.   ภ.ร.ด. 8                                           ค.   ภ.ร.ด. 9          
            ง.   ภ.ร.ด. 10                                              จ.   ภ.ร.ด. 12
39.   ใบเสร็จรับเงินเสร็จตาม พ.ร.บ.ภาษีโรงเรือนและที่ดิน คือแบบพิมพ์ใด
            ก.   ภ.ร.ด. 8                                               ข.   ภ.ร.ด. 9                                           ค.   ภ.ร.ด. 10                                        
            ง.   ภ.ร.ด. 11                                              จ.   ภ.ร.ด. 12
40.   ผู้ มีหน้าที่เสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน มิได้ยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษี พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจการประเมินย้อนหลังได้ไม่เกินกี่ปี
            ก. 2 ปี                         ข. 5 ปี                     ค. 10 ปี                   ง. 15 ปี                   จ. 20 ปี
41.   ผู้ มีหน้าที่เสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน มิได้ยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษี แต่ยื่นแบบพิมพ์ไม่ถูกต้องตรงความเป็นจริงหรือไม่บริบูรณ์ พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจแจ้งการประเมินย้อนหลังไม่ได้เกินกี่ปี
            ก. 2 ปี                         ข. 5 ปี                     ค. 10 ปี                   ง. 15 ปี                   จ. 20 ปี
42.   สิทธิเรียกร้องของรัฐบาลเพื่อเอาค่าภาษีฯ มีอายุความกี่ปี
            ก. 2 ปี                         ข. 5 ปี                     ค. 10 ปี                   ง. 15 ปี                   จ. 20 ปี
43.   โรง เรือนที่ติดตั้งส่วนควบที่สำคัญที่มีลักษณะเป็นเครื่องจักรกลไกเครื่องกระทำ หรือกำเนิดสินค้า เพื่อใช้การดำเนินอุตสาหกรรมบางอย่าง ในการประเมินให้ลดค่ารายปีลงเหลือ
            ก. 1 ใน 2                                                    ข. 1 ใน 3                                                ค. 1 ใน 4                               
            ง. 1 ใน 5                                                    จ. ไม่สามารถลดค่ารายปีได้
44.   เงินค่าภาษีโรงเรือนและที่ดินค้างชำระเมื่อพ้นกำหนดระยะเวลาเท่าใด นับแต่แจ้งความการประเมิน
            ก. 15 วัน                                                    ข.30 วัน                                                 ค. 1 เดือน              
            ง.60 วัน                                                      จ. 90 วัน
45.   ที่ดินที่ปลูกต้นไม้ประเภท พริก มะเขือ มะละกอ ซึ่งเป็นการประกอบกสิกรรม จะเสียภาษีไร่ละไม่เกิน
            ก. ไม่เกิน 5 บาท                                       ข. ไม่เกิน 10 บาท                                 ค. 1 เดือน                              
            ง. ไม่เกิน 50 บาท                                      จ. ไม่เกิน 100 บาท

46.   ใบเสร็จรับเงินภาษีบำรุงท้องที่ข้อใดถูกต้อง
            ก. ภ.บ.ท. 8                                                ข. ภ.บ.ท. 9                                            ค. ภ.บ.ท. 10
            ง. ภ.บ.ท. 11                                               จ. ภ.บ.ท. 17
47.   ข้อใดถูกต้อง
            ก. ที่ดินที่ใช้ในการรถไฟ การประปา การไฟฟ้า ได้รับการยกเว้นภาษีบำรุงท้องที่
            ข. ที่ดินที่ใช้ต่อเนื่องกับโรงเรือนที่ได้เสียภาษีโรงเรือนและที่ดินแล้ว ได้รับการยกเว้นภาษีบำรุงท้องที่
            ค. ที่ดินที่เป็นสนามบินของรัฐ ที่ตั้งสถานฑูต สถานกงสุล ได้รับการยกเว้นภาษี
            ง. ถูกทั้งข้อ ก, ,                                    จ. ถูกเฉพาะ ข้อ ข,
48.   เจ้าของที่ดินไม่ต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่สำหรับที่ดิน
            ก. ที่ดินให้เช่า                                            ข. ที่ดินว่างเปล่า                                    ค. ที่ดีที่ไม่ได้ทำประโยชน์                 
            ง. บ่อเลี้ยงกุ้ง                                              จ. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
49.   หนังสือเตือนผู้ค้างชำระภาษีบำรุงท้องที่สำหรับที่ดิน
            ก. ภ.บ.ท. 12              ข. ภ.บ.ท. 13          ค. ภ.บ.ท. 14          ง. ภ.บ.ท. 15           จ. ภ.บ.ท. 16
50.  การไม่ยื่นแบบแสดงรายการที่ดินเพื่อเสียภาษีบำรุงท้องที่ภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดเสียเงินเพิ่มขึ้นเท่าใดของจำนวนที่ต้องเสียภาษีฯ
            ก. ร้อยละ 1                ข. ร้อยละ 2.5        ค. ร้อยละ 5            ง. ร้อยละ 10          จ. ร้อยละ 20
51.   ผู้ ใดรู้อยู่แล้วหรือโดยจงใจแจ้งข้อความอันเป็นเท็จให้ถ้อยคำเท็จ ตอบคำถามด้วยถ้อยคำอันเป็นเท็จหรือนำพยานหลักฐานอันเป็นเท็จมาแสดงเพื่อหลีก เหลี่ยงภาษีบำรุงท้องที่ จะต้องได้รับโทษอย่างไร
            ก. จำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 200 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
            ข. จำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 500 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
            ค. จำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
            ง. จำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
            จ. จำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 2,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
52.   วงเงินขั้นต่ำสุดของภาษีป้ายที่จะขอผ่านชำระภาษีได้
            ก. ภาษีป้ายจำนวนตังแต่ 3,000 บาทขึ้นไป ขอผ่อนชำระได้ 3 งวด
            ข. ภาษีป้ายจำนวนตั้งแต่ 6,000 บาทขึ้นไป ขอผ่อนชำระได้ 3 งวด
            ค. ภาษีป้ายจำนวนตั้งแต่ 9,000 บาทขึ้นไป ขอผ่อนชำระได้ 3 งวด
            ง. ภาษีป้ายจำนวนตั้งแต่ 15,000 บาทขึ้นไป ขอผ่อนชำระได้ 3 งวด                                จ. ถูกทุกข้อ
53.   การยื่นแบบแสดงรายการที่ดิน (ภ.บ.ท.5) เพื่อเสียภาษีบำรุงท้องที่จะต้องยื่นภายใน
            ก. ภายในเดือนมกราคม ของปีแรกที่มีการตีราคาปานกลางของที่ดิน
            ข. ภายในเดือนกุมภาพันธ์ ของปีแรกมีการที่มีการตีราคาปานกลางของที่ดิน
            ค. ภายใน 30 วัน นับจากการรับโอนกรรมสิทธิ์
            ง. ภายใน 60 วัน นับจากวันรับโอนกรรมสิทธิ์                     จ. ถูกทั้งข้อ ก.และ ค.
54.   ผู้มีหน้าที่เสียภาษีบำรุงท้องที่ ต้องชำระภาษีเมื่อใด
            ก. ภายในเดือน มกราคม ของทุกปี                                         ข. ภายในเดือน กุมภาพันธ์ ของทุกปี
            ค. ภายในเดือน มีนาคม ของทุกปี                                           ง. ภายในเดือน เมษายน ของทุกปี
            จ. ภายในเดือน พฤษภาคม ของทุกปี
55.   การไม่ชำระภาษีบำรุงท้องที่ภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดจะต้องเสียเพิ่มอย่างไร
            ก. ร้อยละ 5 ต่อปี                      ข. ร้อยละ 10  ต่อปี                              ค. ร้อยละ 5 ต่อปี        
            ง. ร้อยละ 24 ต่อปี                                     จ. ไม่มีข้อใดถูก
56.   จ้า ของที่ดินเมื่อได้รับแจ้งการประเมินภาษีบำรุงท้องที่แล้วเห็นว่าการประเมิน นั้นไม่ถูกต้อง มีสิทธิ์อุทธรณ์ภายในกี่วัน นับแต่วันได้รับแจ้งการประเมิน
            ก. 15 วัน                 ข. 30 วัน                    ค. 45  วัน               ง. 60 วัน                 จ. 90 วัน
57.   การชำระภาษีบำรุงท้องที่ สามารถชำระภาษีด้วยวิธีใดบ้าง
            ก. ชำระด้วยเงินสด                                   ข. ชำระโดยส่งธนาณัติ
            ค. ชำระโดยตั๋วแลกเงินของไปรษณีย์                     ง. ชำระโดยส่งตั๋วแลกเงินของธนาคาร
            จ. ถูกทั้งข้อ ก,,
58.   การตีราคาปานกลางของที่ดินเพื่อจัดเก็บภาษีบำรุงท้องที่จะกระทำทุกรอบระยะเวลาเท่าไร
            ก. ทุกรอบ 2 ปี                                          ข. ทุกรอบ 4 ปี                                      ค. ทุกรอบ 5ปี                                             ง. ทุกรอบ 8 ปี                     จ. ทุกรอบ 10
59.   ตาม พ.ร.บ. ภาษีบำรุงท้องที่การขอผ่อนชำระค่าภาษีจะขอผ่อนได้ตั้งแต่วงเงินเท่าไรเป็นต้นไป
            ก. วงเงิน 3,000 บาท ขึ้นไป                                     ข. วงเงิน 6,000 บาท ขึ้นไป                 ค. วงเงิน 9,000 บาท ขึ้นไป
            ง. วงเงิน 12,000 บาท ขึ้นไป                                   จ.วงเงิน  20,000 บาท ขึ้นไป
60.   ตามข้อ 59 ผู้มีหน้าที่เสี่ยภาษีจะสามารถจะขอผ่อนชำระได้กี่งวด
            ก. 2 งวด                     ข. 3 งวด                 ค. 5 งวด                 ง. 6 งวด                  จ. 10 งวด
61.      ข้อใดถูกต้องที่สุด
            ก. การตีราคาปานกลางที่ดินจะต้องนำราคาปานกลางกลางที่ดินในหน่วยที่ตัวตีราคาโดยสุจริตครั้ง 
                สุดท้ายไม่น้อยกว่า 2 ราย ในระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี ก่อนวันตีราคาคำนวณเฉลี่ย
            ข. การตีราคาปานกลางที่ดินให้นำราคาที่ประชาชนซื้อขายที่ดินในหน่วยที่ตีราคาปานกลาง ไม่น้อยกว่า
                 3 รายในปีที่จะตีราคาปานกลางมาเฉลี่ยเป็นราคาปานกลาง
            ค. การตีราคาปานกลางที่ดิน จะต้องนำราคาปานกลางที่ดินในหน่วยที่ตัวตีราคาโดยสุจริตครั้งสุดท้ายไม่
                 น้อยกว่า 3 รายในระยะเวลาไม่เกิน 1 ปีก่อนวันตีราคามาคำนวณเฉลี่ยเป็นราคาปานกลาง
            ง. ข้อ ข. และ ค.ถูกต้อง                                            จ. ไม่มีข้อถูก
62    ที่ดินที่อยู่นอกเขตเทศบาลมีเกณฑ์ลดหย่อนอย่างไร
            ก. ลดหย่อนได้ไม่เกิน 100 ตารางวาแต่จะน้อยกว่า 50 ตาราวางไม่ได้
            ข. ลดหย่อนได้ไม่เกินหนึ่งไร่แต่จะน้อยกว่า 100 ตารางวาไม่ได้
            ค. ลดหย่อนได้ไม่เกินห้าไร้แต่จะน้อยกว่าสามไร่ไม่ได้
            ง. ลดหย่อนได้ไม่เกินหนึ่งไร่แต่จะน้อยกว่า 200 ตารางวาไม่ได้       จ. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
63.      ที่ดิน ที่ใช้ในการเพาะปลูก ถ้าในปีที่ล่วงมาแล้วการเพาะปลุกเกิดการเสียหายที่ผิดปกติหรือเพาะ ปลุกไม่ได้ด้วยเหตุอันพ้นวิสัยผู้มีอำนาจในการพิจารณายกเว้นหรือลดภาษีบำรุง ท้องที่
            ก. ผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น       ข. สภาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
            ค. ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น                      ง. นายอำเภอท้องที่               จ. ผู้ว่าราชการจังหวัด
64.      ถ้าภาษีบำรุงท้องที่สำหรับที่ดินของเจ้าของเดียวกันในทำเลเดียวกันมีจำนวนเท่าไรไม่ต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่สำหรับที่ดินแปลงนั้น
            ก. มีจำนวนไม่ถึง ห้าสิบสตางค์              ข. ไม่จำนวนไม่ถึง หนึ่งบาท               ค. มีจำนวนไม่ถึง สองบาท
            ง. มีจำนวนไม่ถึง สามบาท                      จ. มีจำนวนไม่ถึง สี่บาท
65 .     ผู้ ใดเสียภาษีบำรุงท้องที่โดยไม่มีหน้าที่ต้องเสียหรือเกินกว่าที่ควรจะต้อง เสีย ดังนั้นมีสิทธิได้รับเงินคืน การขอรับเงินคืนจะต้องดำเนินการภายในระยะเวลาเท่าใด นับตั้งแต่วันที่เสียภาษีหรือได้รับแจ้ง
            ก. ภายในหนึ่งปี                                        ข. ภายในสองปี                                     ค. ภายในสามปี                    
            ง. ภายในห้าปี                                            จ. ภายในสิบปี
66. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีท้องที่มิได้ยื่นแบบแสดงรายการที่ดินตามกฎหมายเจ้าพนักงานประเมินมีอำนาจแจ้งการประเมินย้อนหลังกี่ปี
            ก. 5 ปี                         ข. 10 ปี                   ค. 15 ปี                   ง. 20 ปี                   จ. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
67.    ผู้รักษาการตาม พ.ร.บ.ภาษีบำรุงท้องที่ พ.ศ.2508
            ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย                 ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
            ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
            ง. รัฐมนตรีว่าการสำนักนายกรัฐมนตรี                 จ. นายกรัฐมนตรี
68.   เจ้าของที่ดินผู้ใดได้รับแจ้งการประเมินภาษีบำรุงท้องที่แล้วเห็นว่าการประเมินไม่ถูกต้องมีสิทธิยื่นอุทธรณ์ต่อใคร
            ก. นายกองค์การบริหารส่วนตำบล                                        ข. ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล
            ค. นายอำเภอ                             ง. ผู้ว่าราชการจังหวัด           จ. หัวหน้าส่วนการคลังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
69.   เมื่อ กรรมสิทธิ์หรือหารครอบครองที่ดินโอนไปเป็นของบุคคลอื่น ผู้รับโอนมีหน้าที่ร่วมกับเจ้าของที่ดินเดิมภาษีบำรุงท้องที่ค้างชำระไม่ เกิน
            ก. 1 ปี                         ข. 5ปี                      ค. 10ปี                    ง.  15 ปี                  จ. 20 ปี
70.   การชำระภาษีจะสมบูรณ์เมื่อ
            ก. พนักงานเก็บภาษีลงลายมือในใบเสร็จรับเงิน                  ข. วันส่งไปรษณีย์เป็นวันชำระภาษี
            ค. วันชำระผ่านธนาคารเป็นวันชำระภาษี                             ง. ถูกทั้งข้อ ก, ,                จ. ถูกเฉพาะข้อ ก,
71.      ค่าภาษีโรงเรือนและที่ดินค้างชำระเมื่อทรัพย์สินได้โอนกรรมสิทธิ์ไปเป็นของเจ้าของคนใหม่ ผู้รับผิดชอบภาษีค้างชำระคือใคร
            ก. เจ้าของคนเก่า                       ข. เจ้าของคนใหม่                 ค. เจ้าของคนเก่าและเจ้าของคนใหม่ 
            ง.  ภาษีค้างเป็นอันพ้นไป         จ. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
72.      ป้ายประเภทใดต่อไปนี้ต้องเสียภาษีป้าย
            ก. ป้ายที่แสดงไว้ ณ โรงมหรสพเพื่อโฆษณามหรสพ
            ข. ป้ายที่แสดงไว้ที่สินค้าหรือสิ่งห่อหุ้มหรือบรรจุสินค้า
            ค. ป้ายที่แสดงไว้บริเวณที่จัดขึ้นเป็นครั้งคราว
            ง. ป้ายแสดงชื่อ ยี่ห้อ หรือเครื่องหมายที่ใช้ประกอบการค้า                               จ. ถูกทั้ง ก,,
73.   ผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้ายจะต้องยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีป้ายเมื่อใด
            ก. ภายในเดือนมกราคมของทุกปี                                           ข. ภายในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี
            ค. ภายในเดือนมีนาคมของทุกปี                                             ง. ภายในเดือนเมษายนของทุกปี
            จ. ภายในเดือนธันวาคมของทุกปี
74.   ป้ายที่แสดงไว้ภายในอาคารที่ใช้ประกอบการค้าเพื่อหารายได้ต้องมีพื้นที่เท่าใดจึงได้รับการยกเว้นภาษีป้าย
            ก. มีพื้นที่ไม่เกินหนึ่งตารางเมตร                                            ข. มีพื้นที่ไม่เกินสองร้อยตารางเมตร
            ค. มีพื้นที่ไม่เกินห้าตารางเมตร                                               ง. มีพื้นที่ไม่เกินหนึ่งพันตารางเมตร
            จ. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
75. ป้ายที่ติดตั้งอยู่บนอสังหาริมทรัพย์ของบุคคลอื่นและมีพื้นที่เกิน .....ตารางเมตร จะต้องแสดงชื่อและที่อยู่ของเจ้าของป้ายที่มุกขวาด้านหลังและข้อความดัง กล่าวได้รับการยกเว้นภาษีป้าย
            ก. หนึ่ง                       ข. สอง                    ค. สาม             ง. ห้า                              จ. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
76.   ป้ายที่ไม่มีอักษรไทย ไม่ว่าจะมีภาพหรือเครื่องหมายใดๆ หรือไม่ จะต้องเสียภาษีในอัตราใด
            ก. 3 บาท ต่อห้าร้อยตารางเซนติเมตร                    ข. 20 บาท ต่อห้าร้อยตารางเซนติเมตร
            ค. 40 บาทต่อห้าร้อยตารางเซนติเมตร                   ง. 60 บาทต่อห้าร้อยตารางเซนติเมตร
            จ.  80 บาทต่อห้าร้อยตารางเซนติเมตร
77.  ป้ายที่ติดตั้งหรือแสดงไว้ที่ยานพาหนะมีพื้นที่ป้ายเกินกี่ตารางเซนติเมตรจึงต้องเสียภาษีป้าย
            ก. เกิน 100 ตารางเซนติเมตร                  ข. เกิน 200 ตารางเซนติเมตร              ค .เกิน 400 ตารางเซนติเมตร
            ง. เกิน 500 ตารางเซนติเมตร                   จ. เกิน 1,000 ตารางเซนติเมตร
78.   ใบเสร็จรับเงินภาษีป้ายใช้แบบพิมพ์ใด
            ก. ภ.ป.6                     ข. ภ.ป.7                 ค. ภ.ป.11               ง. ภ.ป.12                จ. ไม่มีข้อใดถูก
79.   เจ้า ของป้ายผู้ใดติดตั้งหรือแสดงป้ายอันต้องเสียภาษีหลังเดือนมีนาคมจะต้องยื่น แบบแสดงรายการชำระภาษีป้ายต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ภายในกี่วัน
            ก. 7 วัน                       ข. 15 วัน                                ค. 30 วัน                                ง. 60 วัน                 จ. 90 วัน
80.   เจ้า ของป้ายซึ่งติดตั้งหรือแสดงป้ายใหม่แทนป้ายเดิมและมีพื้นที่ ข้อความ ภาพและเครื่องหมายอย่างเดียวกับป้ายเดิมที่ได้เสียภาษีป้ายแล้วจะต้องเสีย ภาษีป้ายใหม่อีกครั้งหรือไม่
            ก. ต้องยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้ายภายใน 15 วัน
            ข. ได้รับการยกเว้นภาษีเฉพาะปีที่ติดตั้งหรือแสดงป้าย
            ค. ต้องยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้ายและเสียภาษีใหม่
            ง. ได้รับการลดหย่อนภาษีป้านครึ่งอัตรา                                                              จ. ถูกทั้ง ก,
81.      กรณีที่มีการโอนป้ายให้ผู้รับโอนเป็นหนังสือต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ภายในกี่วันนับตั้งแต่วันรับโอน
            ก. ภายใน 15 วัน                                       ข. ภายใน 30 วัน                                   ค. ภายใน 45 วัน                  
            ง. ภายใน 60 วัน                                        จ. ภายใน 90 วัน
82.   กรณี ไม่มีผู้ยื่นแบบแสดงรายการเพื่อภาษีป้ายและพนักงานเจ้าหน้าที่ไม่อาจหาตัว เจ้าของป้ายได้ผู้ต้องรับผิดชอบและมีหน้าที่ต้องยื่นแบบลำดับแรกคือ
            ก. ผู้ครอบครองป้าย                                 ข. เจ้าของอาคารที่ป้ายติดตั้ง               ค. เจ้าของที่ดิน                     
            ง. ทายาทจ้าของป้าย                                 จ. ถูกทั้งข้อ ข,
83.   ผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้ายจะต้องชำระภาษีป้ายจะต้องชำระภาษีป้ายภายในกี่วันนับตั้งแต่ได้รับแจ้งการประเมิน
            ก. 7 วัน                       ข. 10 วัน                                ค. 15 วัน                                ง. 20 วัน                 จ. 30 วัน
84.   การชำระป้ายสามารถกระทำโดยวิธีการใดได้บ้าง
            ก. ชำระเป็นเงินสด                                   ข. ชำระโดยการส่งธนาณัติ                 ค. ชำระโดยตั๋วแลกเงินธนาคาร
            ง. ชำระโดยตั๋วแลกเงินไปรษณีย์            จ. ถูกทั้งข้อ ก, ,
85.   การผ่อนชำระภาษีป้ายสามารถกระทำได้ในวงเงินเท่าไรขึ้นไป
            ก. 3,000 บาทขึ้นไป                                 ข. 6,000 บาทขึ้นไป                             ค. 9,000 บาทขึ้นไป            
            ง. 12,000 บาทขึ้นไป                               จ. 20,000 บาทขึ้นไป
86.   การขอผ่อนชำระภาษีป้าย สามารถกระทำได้กี่งวด
            ก. 2 งวด                     ข. 3 งวด                 ค. 4 งวด                 ง. 5 งวด                  จ. 6 งวด
87.   ผู้ใดเสียภาษีป้ายโดยไม่มีหน้าที่ต้องเสียหรือเสียเกินกว่าที่ควรจะต้องขอรับเงินเดือนภายในระยะเวลาเท่าไรนับตั้งแต่วันที่เสียภาษี
            ก. สามเดือน              ข. หกเดือน            ค. หนึ่งปี                ง. สองปี                 จ. ภายในสามเดือนถึงหกเดือน
88.   กรณีที่ไม่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้ายภายในเวลาที่กำหนดจะต้องเสียเงินเพิ่มขึ้นเท่าไรของจำนวนเงินที่ต้องเสียภาษี
            ก. ร้อยละ 2                ข. ร้อยละ 5            ค. ร้อยละ 10         ง. ร้อยละ 15          จ. ร้อยละ 20
89.   กรณี ยื่นแบบแสดงรายการป้ายแล้วแต่ไม่ไปชำระภาษีป้ายภายในระยะเวลา ที่กฎหมายกำหนดจะต้องเสียเงินเพิ่มขึ้นเท่าไรของจำนวนเงินที่ต้องเสียภาษี
            ก. ร้อยละหนึ่งต่อเดือน                            ข. ร้อยละสองต่อเดือน                         ค. ร้อยละห้าต่อเดือน
            ง. ร้อยละ7.5 ต่อเดือน                              จ. ร้อยละ 10 ต่อเดือน
90. เจ้าของป้ายไม่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้ายหรือยื่นแบบแสดงรายการ ภาษีป้ายโดยไม่ถูกต้องพนักงานเจ้าหน้าที่สามารถแจ้งการประเมินย้อนหลังได้ ไม่เกินกี่ปี นับตั้งแต่วันที่พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งการประเมิน
            ก. 1 ปี                         ข. 2 ปี                     ค. 3 ปี                     ง. 5 ปี                      จ. 10 ปี
91. การอุทธรณ์ภาษีป้ายกรณีที่เห็นว่าการประเมินไม่ถูกต้องมีสิทธิ์อุทธรณ์ภายในระยะเวลาเท่าไรนับตั้งแต่วันได้รับการแจ้งประเมิน
            ก. 7 วัน                       ข. 10 วัน                                ค. 15 วัน                                ง. 30 วัน                 จ. 60 วัน

92.   ผู้มีอำนาจวินิจฉัยการอุทธรณ์ภาษีป้ายคือใคร
            ก. ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล                                         ข. นายกองค์การบริหารส่วนตำบล
            ค. ผู้ได้รับมอบหมายจากนายกองค์การบริหารส่วนตำบล
            ง. นายอำเภอ                                                                              จ. ถูกทั้งข้อ ข,
93.   ผู้ใดจงใจไม่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้ายต้องระวางโทษอย่างไร
            ก. ปรับตั้งแต่ 1,000 บาทถึง 10,000 บาท                             ข. ปรับตั้งแต่ 4,000 บาทถึง 20,000 บาท
            ค. ปรับตั้งแต่ 5,000 บาทถึง 50,000 บาท                             ง. ปรับตั้งแต่ 10,000 บาทถึง 100,000 บาท
            จ. ปรับตั้งแต่ 10,000 บาทถึง 200,000 บาท
94.    ผู้ ใดโดยรู้อยู่แล้วหรือโดยจงใจแสดงข้อความอันเป็นเท็จ ให้ถ้อยคำเท็จ ตอบคำถามด้วยถ้อยคำเท็จนำพยานหลักฐานเท็จมาแสดง หรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษีป้ายมีความผิดอย่างไร
            ก. จำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท        
            ข. จำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกินห้าพันบาท
            ค. จำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกินห้าพันบาทถึงห้าหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
            ง. จำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทถึงหนึ่งบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
            จ. จำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทถึงสองแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
95.   ป้ายที่มีอักษรไทยล้วนเสียภาษีอัตราเท่าไร
            ก. หนึ่งบาท ต่อหนึ่งร้อยตารางเซนติเมตร                            ข. สิบบาท ต่อห้าร้อยเซนติเมตร
            ค. ห้าบาท ต่อหนึ่งร้อยตารางเซนติเมตร                               ง. สามสิบบาท ต่อห้าร้อยตารางเซนติเมตร
            จ. ยี่สิบบาท ต่อหนึ่งร้อยตารางเซนติเมตร
96.  ป้ายที่มีอักษรไทยปนกับอักษรต่างประเทศปนกับภาพหรือเครื่องหมายอื่น เสียภาษีอัตราอย่างไร
            ก. สามบาท ต่อห้าร้อยตารางเซนติเมตร                                ข. สิบบาท ต่อห้าร้อยตารางเซนติเมตร
            ค. ห้าบาท ต่อห้าร้อยตารางเซนติเมตร                                  ง. สามสิบบาท ต่อห้าร้อยเซนติเมตร
            จ. สี่สิบบาท ต่อหนึ่งร้อยตารางเซนติเมตร
97.   ป้ายที่มีลักษณะเป็นภาพหรือมีเครื่องหมายโดยไม่มีอักษรไทยเสียภาษี อัตราอย่างไร
            ก. สามบาท ต่อห้าร้อยตารางเซนติเมตร                                ข. สิบบาทต่อตารางเซนติเมตร
            ค. ห้าบาท ต่อหนึ่งร้อยตารางเซนติเมตร                               ง. สามสิบบาท ต่อห้าร้อยตารางเซนติเมตร
            จ. สี่สิบบาท ต่อหนึ่งร้อยตารางเซนติเมตร
98.   อัตราภาษีป้ายขั้นต่ำที่ต้องเสียภาษี
            ก. 100 บาท               ข. 200 บาท           ค. 300 บาท           ง. 400 บาท            จ. 500 บาท
99.      ประกาศกระทรวงมหาดไทยให้องค์การบริหารส่วนตำบลเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่นมีอำนาจหน้าที่จัดเก็บภาษีป้ายโดยประกาศตั้งแต่เมื่อไร
            ก. 1 มิถุนายน พ.ศ. 2537                         ข. 2 มิถุนายน พ.ศ. 2538                     ค. 1 เมษายน พ.ศ. 2537      
            ง. 1 เมษายน พ.ศ. 2538                            จ. 5 เมษายน พ.ศ. 2538
100.    การคำนวณหาพื้นที่ของ ป้ายต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง
            ก. ป้ายที่มีขอบเขตกำหนดได้เอาส่วนที่กว้างที่สุดคูณด้วยส่วนที่ยาวที่สุดเป็นตารางเซนติเมตร

            ข. ป้ายที่ไม่มีขอบเขตกำหนดได้ให้ถือว่าตัวอักษร ภาพหรือเครื่องหมายที่อยู่ริมสุดเป็นขอบเขตสำหรับ
                 กำหนดส่วนที่กว้างที่สุดและยาวที่สุดแล้วเอาส่วนที่กว้างที่สุดคูณด้วยส่วนที่ยาวที่สุดเป็นตาราง เซนติเมตร
            ค. การหาพื้นที่ของป้ายให้ใช้สูตรทางคณิตศาสตร์คำนวณเป็นตารางเซนติเมตร
            ง. ถูกทั้งข้อ ก,
101. แบบพิมพ์ที่ใช้ในการจัดเก็บภาษีป้ายมีทั้งหมด 12 แบบพิมพ์ แบบพิมพ์ใดคือแบบแสดงรายการภาษีป้าย
            ก. แบบ ภ.ป. 1                           ข. แบบ ภ.ป. 2                                       ค. แบบ ภ.ป. 3                                      
            ง. แบบ ภ.ป. 4                           จ. แบบ ภ.ป. 5


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น