แนวข้อสอบ ธกส ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่พัฒนาธุรกิจ

ตัวอย่างแนวข้อสอบ  ธกส ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่พัฒนาธุรกิจ
จงใช้ข้อมูลต่อไปนี้ในการตอบคำถามข้อ 1. -9.
บริษัท วิภา จำกัด ใบสำคัญค้างจ่ายยกมาต้นเดือนมกราคม มีดังนี้
            บริษัท ทรัพย์รุ่ง จำกัด                             40,000 บาท
            บริษัท วนา        จำกัด                          60,000 บาท
            บริษัทขาว          จำกัด                          20,000 บาท
ในเดือนมกราคม มีรายการค้าบางส่วนเกิดขึ้นดังต่อไปนี้
วันที่       1         ซื้อสินค้าจากบริษัท สมทิชัย จำกัด 20,000 บาท
            11           จ่ายค่าโฆษณาให้บริษัท มีเดีย จำกัด 6,000 บาท
            13           ผู้รักษาเงินสดย่อยเบิกชดเชยเงินสดย่อยเป็นค่าวัสดุสำนักงาน 500 บาท ค่าน้ำมัน
                        ค่าน้ำมัน 1,000 บาท
            14           ซื้อสินค้าจากบริษัท สมทิชัย จำกัด 50,000 บาท เงื่อนไข 2/10,n/30
            20           จ่ายชำระเครื่องคอมพิวเตอร์จากร้านโอเอ เป็นเงิน 60,000 บาท
                        จ่ายเช็ควันนี้ 20,000 บาท  ที่เหลือแบ่งจ่าย 2 งวดๆ ละเท่าๆ กัน
            29           จ่ายค่าโทรศัพท์ให้กับการสื่อสารแห่งประเทศไทยเป็นเงิน 2,000  บาท
1. รายการในวันที่ 13 บันทึกรายการใน
(1)ทะเบียนใบสำคัญจ่าย    (2) ทะเบียนจ่ายเช็ค (3) สมุดเงินสดย่อย       (4) ข้อ 1 และ 2
ตอบ 4 ก) บันทึกรายการในทะเบียนใบสำคัญจ่าย
                        เดบิท      สำนักงาน                      500
                                       ค่า พาหนะ                  1,000
                                  เครดิต    ใบสำคัญจ่าย                 1,500
        ข) บันทึกรายการในทะเบียนจ่ายเช็ค
                เดบิท      ใบสำคัญจ่าย                 1,500
                            เครดิต    เงินฝากธนาคาร               1,500
2. ระบายคำตอบเช่นเดียวกับข้อ 1.
3. ยอดรวมเครดิตใบสำคัญจ่ายในทะเบียนใบสำคัญจ่ายเท่ากับ
(1) 98,000 บาท           (2) 139,500 บาท                        (3) 138,000 บาท                        (4) 259,500 บาท
ตอบ 2
ทะเบียนใบสำคัญจ่าย
4. ระบายคำตอบเช่นเดียวกับข้อ 3.
5. ยอดรวมเครดิตเงินฝากธนาคารในทเบียนจ่ายเช็คเท่ากับ
(1) 49,500 บาท           (2) 69,500 บาท               (3) 109,500                  (4) 158,000 บาท
ตอบ 1
                                                ทะเบียนจ่ายเช็ค
6. ระบายคำตอบเช่นเดียวกับข้อ 5.
7. ยอดรวมใบสำคัญจ่ายค้างจ่ายสิ้นเดือน เท่ากับ
(1) 90,000 บาท           (2) 181,500 บาท                        (3) 160,000 บาท                        (4) 210,000 บาท
ตอบ 3  ยอดรวมใบสำคัญค้างจ่าย ณ สิ้นเดือนมกราคม
        เลขที่ใบสำคัญ                          ผู้รับเงิน                         จำนวนเงิน
                                     บริษัท ทรัพย์รุ่ง จำกัด                 40,000 บาท         
                                        บริษัท วนา        จำกัด                  60,000
                                        บริษัท     ขาว         จำกัด                  20,000
                006                 ร้าน โอเอ                                  20,000
                007                 ร้าน โอเอ                                  20,000
                                        ยอดรวม                         160,000 บาท
8. ระบายคำตอบเช่นเดียวกับข้อ 7.
ข้อความใดถูกต้องเกี่ยวกับการบันทึกรายการสำคัญรายการในวันที่ 20
ก. บันทึกรายการในทะเบียนใบสำคัญ
ข. บันทึกรายการในทะเบียนจ่ายเช็ค
ค. บันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป โดย
        เดบิท      ใบสำคัญจ่าย- บริษัท วนา  จำกัด                 60,000
                เครดิต ตั๋วเงินจ่าย                                            60,000
(1) ก. เท่านั้น           (2) ก. และ ข.      (3) ก.และค. เท่านั้น           (4) ค.เท่านั้น
ตอบ 5 บันทึกรายการลงในสมุดรายวันทั่วไป
        เดบิท      ใบสำคัญจ่าย- บริษัท สมทิชัย จำกัด            50,000
                เครดิต    ตั๋วเงินจ่าย                                         49,000
                            ส่วนลดรับ(50,000 * 2%)                          1,000
10. ข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้อง
(1) กิจการที่ไม่ได้แสวงหาผลกำไร มีการจัดทำงบดุลและงบกำไรขาดทุนเหมือนกับกิจการที่หวังผลกำไรทั่วไป
(2) เงินสดและเงินฝากธนาคารคงเหลือปลายงวด = เงินสดและเงินฝากธนาคารคงเหลือต้นงวด+ รายได้ ค่าใช้จ่าย
(3) ส่วนต่างของรายรับรายจ่ายให้นำไปปรับปรุงกับทุนสะสมต้นงวด เพื่อคำนวณหาทุนสะสมปลายงวด
(4) กิจการที่ไม่ได้แสวงหากำร ต้องบันทึกบัญชีตามเกณฑ์คงค้างเท่านั้น
ตอบ 1 กิจการที่ไม่ได้แสวงหาผลกำไร มีการจัดทำงบรายรับรายจ่าย งบรายได้ค่าใช้จ่าย และงบดุล ซึ่งมีหลักเกณฑ์ในการบันทึกบัญชีคือ หลักเงินสด หลักเงินค้าง และหลักผสม คือใช้ทั้งเงินสดและเงินค้าง ในการคำนวณหาเงินสดและเงินฝากธนาคารปลายงวด คำนวณได้จากเงินสดและเงินฝากธนาคารต้นงวด บวก รายรับหักราย จ่าย และการคำนวณหาทุนสะสมปลายงวด คำนวณจากทุนสะสมต้นงวด บวก รายการเพิ่มทุนหักรายการลดทุน และส่วนลดต่างของรายรับและรายจ่ายให้นำไปปรับกับเงินสดและเงินฝากธนาคารต้น งวด เพื่อหาเงินสดและเงินฝากธนาคารปลายงวด
11. ระบายคำตอบเช่นเดียวกับข้อ 10.
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
จงใช้ข้อมูลต่อไปนี้ในการตอบคำถามข้อ 12.-20.
ยอดเงินฝากคงเหลือตามสมุดบัญชีของกิจการ มีเท่ากับ                                         25,940 บาท
ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดเงินฝากธนาคารคงเหลือ เท่ากับ                               ?
พนักงานบัญชีได้รวบรวมข้อมูลต่างๆ เพื่อจัดทำงบกระทบยอดดังนี้
            1. กิจการฝากเงินกับธนาคาร แต่ยอดยังไม่ปรากฏในรายงานธนาคาร                  4,200 บาท
            2. กิจการมีเช็คค้างจ่าย จำนวนเงินทั้งสิ้น                                                6,000 บาท
            3. ธนาคารหักค่าธรรมเนียมรักษาบัญชี                                                      120
            4. กิจการออกเช็คเพื่อจ่ายค่าไฟฟ้าเป็นจำนวน 4,200 บาท แต่บันทึกผิดเป็น 2,000 แต่มีการ
            ตัดบัญชีที่ธนาคารด้วยยอดที่ถูกต้องแล้ว
            5. เช็ครับชำระจากลูกหนี้มีเงินไม่พอในบัญชี
            6. ธนาคารนำเช็คสั่งจ่ายให้กับบริษัทอื่นจำนวน 5,600 บาท มาเข้าบัญชีของกิจการ
ตั้งแต่ข้อ 12. 20. จงใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคำถาม
(1) ข้อแตกต่างที่ต้องนำไป บวก ยอดเงินฝากธนาคารในสมุดบัญชีของกิจการ
(2) ข้อแตกต่างที่ต้องนำไป หัก ยอดเงินฝากธนาคารในสมุดบัญชีของกิจการ
(3) ข้อแตกต่างที่ต้องนำไป บวก ยอดเงินฝากธนาคารในใบแจ้งยอดของกิจการ
(4) ข้อแตกต่างที่ต้องนำไป หัก ยอดเงินฝากธนาคารในใบแจ้งยอดของธนาคาร
12. ในการจัดทำงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารแบบพิสูจน์หายอดเงินฝากธนาคารคงเหลือที่ถูกต้อง ข้อแตกต่างที่ 4
ตอบ 2
คำนวณประกอบข้อ 12.-20.
งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
                                ณ วันที่...................
                               
                                            ตามสมุดบัญชีของกิจการ        ตามใบแจ้งยอดเงินฝากธนาคาร
ยอดคงเหลือ                                                      25,940                              27,020
บวก        เงินฝากระหว่างทาง                                           คำตอบข้อ 15.                 4,200
                                                                     25,940                              31,220
หัก          เช็คค้างจ่าย                                                  คำตอบข้อ 16.      6,000
            เช็ครับของบริษัทอื่นที่เข้าบัญชีผิด                           คำตอบข้อ 14.      5,600     11,600  
            ค่าธรรมเนียมธนาคาร                          120         คำตอบข้อ 17.
            เช็คที่บันทึกบัญชีต่ำไป (4,200 2,000)   2,200         คำตอบข้อ 12.
            เช็คคืน               คำตอบข้อ 13.            4,000     6,000
ดังนั้น    ยอดเงินฝากธนาคารที่ถูกต้อง                        19,620                             19,620
13. ในการจัดทำงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารแบบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารคงเหลือที่ถูกต้อง ข้อแตกต่างที่ 5
ตอบ 2 ดูคำนวณในข้อ 12. ประกอบ
14. ในการจัดทำงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารแบบพิสูจน์หายอดเงินฝากธนาคารคงเหลือที่ถูกต้อง ข้อแตกต่างที่ 6
ตอบ 4 ดูคำนวณในข้อ 12. ประกอบ
15. ข้อแตกต่างที่ 1 บริษัทบันทึกรายการปรับปรุงโดย
(1) ไม่ต้องมีการบันทึกรายการปรับปรุง                (2) เดบิท เจ้าหนี้- ธนาคาร  4,200
                                                                            เครดิต เงินฝากธนาคาร      4,200
(3) เดบิท เงินฝากธนาคาร            4,200                        (4) เดบิท ลูกหนี้ ธนาคาร 4,200
            เครดิต เจ้าหนี้ ธนาคาร 4,200                           เครดิต  เงินฝากธนาคาร    4,200
ตอบ 1 ข้อแตกต่างที่กระทบยอดตามใบแจ้งยอดเงินฝากธนาคาร ไม่ต้องบันทึกรายการปรับปรุง
16. ข้อแตกต่างที่ 2 บริษัทบันทึกรายการปรับปรุงโดย
(1) ไม่ต้องมีการบันทึกรายการปรับปรุง                (2) เดบิท เจ้าหนี้การค้า      6,000
                                                                            เครดิต เงินฝากธนาคาร      6,000
(3) เดบิท เงินฝากธนาคาร    6,000                                (4) เดบิท เช็คค้างจ่าย         6,000
            เครดิต  เจ้าหนี้การค้า          6,000                         เครดิต   เงินฝากธนาคาร   6,000
ตอบ 1 ข้อแตกต่างที่กระทบยอดตามใบแจ้งยอดเงินฝากธนาคาร ไม่ต้องบันทึกรายการปรับปรุง
17. ข้อแตกต่างที่ 3 บริษัทบันทึกรายการปรับปรุงโดย
(1) ไม่ต้องมีการบันทึกรายการปรับปรุง                (2) เดบิท ค่าธรรมเนียม        120
                                                                            เครดิต    เงินฝากธนาคาร       120
ตอบ 2 ข้อแตกต่างที่กระทบยอดตามสมุดบัญชีของกิจการ ต้องบันทึกรายการปรับปรุง
18. ข้อแตกต่างที่ 4 บริษัทบันทึกรายการปรับปรุงโดย
1) ไม่ต้องมีการบันทึกรายการปรับปรุง                  (2) เดบิท   ค่าไฟฟ้า           2,000
                                                                            เครดิต    เงินฝากธนาคาร   2,000
(3) เดบิท  ค่าไฟฟ้า                                         (4) เดบิท  ค่าไฟฟ้า         2,200
            เครดิต เงินฝากธนาคาร                                      เครดิต    เงินฝากธนาคาร   2,200
19. ข้อแตกต่างที่5 บริษัทบันทึกรายการปรับปรุงโดย
(1) ไม่ต้องมีการบันทึกรายการปรับปรุง                (2) เดบิท  เช็คคืน           4,000
                                                                            เครดิต    เงินฝากธนาคาร   4,000
(3) เดบิท  ลูกหนี้การค้า     4,000                         (4) เดบิท  เงินฝากธนาคาร 4,000
            เครดิต  เงินฝากธนาคาร    4,000                         เครดิต    เช็คคืน               4,000
20. ข้อแตกต่างที่ 6 บริษัทบันทึกรายการปรับปรุงโดย
1) ไม่ต้องมีการบันทึกรายการปรับปรุง                  (2) เดบิท  เจ้าหนี้                        5,600
                                                                            เครดิต   เงินฝากธนาคาร   5,600
(3) เดบิท เงินฝากธนาคาร  5,600                           (4) เดบิท เงินฝากธนาคาร 5,600
            เครดิต  เจ้าหนี้                 5,600                         เครดิต    ลูกหนี้               5,600
ตอบ 1 ข้อแตกต่างที่กระทบยอดตามใบแจ้งยอดเงินฝากธนาคาร ไม่ต้องบันทึกราการปรับปรุง
เรื่องตั๋วเงิน
จงใช้ข้อมูลต่อไปนี้ในการตอบคำถามข้อ 21. -30.
การคำนวณดอกเบี้ย 1 ปี เท่ากับ 360 วันและปัดเศษตามความเหมาะสม
รายการเกี่ยวกับเงินสดให้บันทึกผ่านบัญชีเงินฝากธนาคาร
กิจการแห่งหนึ่งมีรายละเอียดเกี่ยวกับตั๋วเงินรับ ดังนี้
21. วันครบกำหนดของตั๋วแต่ละฉบับเป็นอย่างไร
(1) วันที่ 1 ก.ย. ,30 มิ.ย., 2 มิ.ย., 29 ก.ค. ตามลำดับ
(2) วันที่ 1 ก.ย., 30 มิ.ย., 3 มิ.ย. , 30 ก.ค. ตามลำดับ
(3) วันที 1 ส.ค., 31 ก.ค., 2 มิ.ย. , 29 ก.ค. ตามลำดับ
(4) วันที่ 1 ส.ค., 31 ก.ค., 3 มิ.ย., 30 ก.ค. ตามลำดบ
ตอบ 2 คำนวณหาวันครบกำหนดชำระของตั๋วเงินฉบับที่ 1 และ 2
            ให้ใช้วิธีนับชนเดือน ซึ่งจะครบกำหนดในวันที่ 1 ก.ย. และ 30 มิ.ย. ตามลำดับ
            คำนวณหาวันครบกำหนดชำระของตั๋วฉบับที่ 3
            เดือนที่ตั๋วลงวันที่คือเดือน เม.ย. = มี 30 วัน วันที่ออกตั๋ว 4 เม.ย. = 26 วัน
            เดือน พ.ค. วันที่ 3 มิ.ย. (31+3)                                           =  34 วัน
            รวมอายุตั๋ว                                                                  =  60 วัน
            ดังนั้น วันที่ตั๋วครบกำหนดคือ 3 มิ.ย.
            คำนวณหาวันครบกำหนดชำระของตั๋วเงินฉบับที่ 4
            เดือนที่ตั๋วลงวันที่ คือเดือน มิ.ย. = มี 30 วัน วันที่ออกตั๋ว 30 มิ.ย. 0  วัน    
            เดือน ก.ค.                                                                          30  วัน
            รวมอายุตั๋ว                                                                           30  วัน
            ดังนั้น วันที่ตั๋วครบกำหนดคือ          30 ก.ค.
22.ระบายคำตอบเช่นเดียวกับข้อ 21.
23. รายการในสมุดรายวันทั่วไปเมื่อเก็บเงินตามตั๋วลงวันที่ 1 มีนาคม 2549 ได้ครบถ้วน
(1) เงินฝากธนาคาร        5,000                         (2) เงินฝากธนาครา        5,125
            ตั๋วเงินรับ                       5,000                         ตั๋วเงินรับ                       5,125
(3) เงินฝากธนาคาร        5,000                         (4) เงินฝากธนาคาร        5,125
      ดอกเบี้ยจ่าย                  125                                     ตั๋วเงินรับ                       5,000
            ตั๋วเงินรับ                       5,125                         ดอกเบี้ยรับ                       125
ตอบ 4 คำนวณประกอบ ดอกเบี้ยตามตั๋วเงิน = 5,000*        เดือน *5%   =  125 บาท
24. ระบายคำตอบเช่นเดียวกับข้อ 23.
25. เมื่อตั๋วลงวันที่ 31 มีนาคม ขาดความเชื่อถือ กิจการบันทึกรายการบัญชีโดย
(1) ลูกหนี้                     7,000                         (2) ลูกหนี้                     6,895
            ตั๋วเงินรับ                       7,000                             ดอกเบี้ยจ่าย                   105
                                                                                  ตั๋วเงินรับ                   7,000
(3) ลูกหนี้                     7,105                         (4) ลูกหนี้                     6,895
            ตั๋วเงินรับ                       7,000                   ดอกเบี้ยรับ                 105
            ดอกเบี้ยรับ                        105                                    ตั๋วเงินรับ           7,000
ตอบ 3 คำนวณประกอบ ดอกเบี้ยตามตั๋วเงิน= 7,000*               เดือน * 6 %   = 105 บาท
26. ระบายคำตอบเช่นเดียวกับข้อ 25.
27. กิจการนำตั๋วลงวันที่ 4 เมษายน 2549 ไปขายลดให้กับธนาคาร ในวันที่ 4 พฤษภาคม 2549
ธนาคารคิดส่วนลด 9 % ต่อปี กิจการบันทึกรายการบัญชีอย่างไร
(1) เงินฝากธนาคาร        2,977.50                       (2) เงินฝากธนาคาร   2,997.20
      ดอกเบี้ยจ่าย                22.50                         ดอกเบี้ยจ่าย               2.80
            ตั๋วเงินรับ                       3,000                         ตั๋วเงินรับขายลด              3,000
(3) เงินฝากธนาคาร        3,022.50                       (4) เงินฝากธนาคาร        3,020
            ตั๋วเงินรับขายลด              3,022.50                       ตั๋วเงินรับขายลด              3,000
                                                                            ดอกเบี้ยรับ                         20
ตอบ 5 คำนวณหาจำนวนเงินที่ได้รับจากธนาคารในการขายลดตั่วเงินฉบับที่ 3
            ก) ส่วนลดในการขายตั๋ว
            = มูลค่าของตั๋ว * อัตราส่วนลด * ระยะเวลาตั้งแต่วันที่ขายลดลงจนถึงวันที่ตั๋วเงินรับถึง
              กำหนด         
            = {3,000+(3,000*8% *         วัน)} * 9% *              วัน     = 22.50 บาท
            ข) จำนวนเงินที่ได้รับ         = มูลค่าของตั๋วเงิน ส่วนลดในการขายตั๋ว
                                            = 3,040  - 22.50                                 = 3,017.50 บาท
·       30 วัน เป้นระยะเวลานับตั้งแต่วันที่ขายลดตั๋วคือ วันที่ 4 พ.ค. (31 4 = 27)
จนถึงวันที่ตั๋วครบกำหนดคือ วันที่ 3 มิ.ย. (27+ 3)
บันทึกรายการโดย
เดบิท      เงินฝากธนาคาร               3,071.50
            เครดิต    ตั๋วเงินรับขายลด              3,000.00
                        ดอกเบี้ยรับ                          17.50
28.ระบายคำตอบเช่นเดียวกับข้อ 27.
29. เมื่อตั๋วที่ขายลดให้กับธนาคารครบกำหนด ธนาคารได้รับชำระเงินตามตั๋ว กิจการจะต้องบันทึกรายการบัญชีอย่างไร
(1) ไม่ต้องบันทึกรายการบัญชี                             (2) ตั๋วเงินรับขายลด           3,000
                                                                            ตั๋วงเงินรับ                    3,000
(3) เงินฝากธนาคาร        3,000                         (4) ตั๋วเงินรับ                3,000
            ตั๋วเงินรับ                       3,000                         ตั๋วเงินรับ                       3,000
            ดอกเบี้ยรับ                         20    
ตอบ 2
30. ระบายคำตอบเช่นเดียวกับข้อ 29.
31. ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่อีกประการหนึ่งคือ การควบคุมและการติดตามงานเพื่อให้การดำเนินงานได้เป็นไปตามแผน
      อยากทราบว่า การควบคุมและการติดตามงานนี้มีความสำคัญต่อหน่วยงานอย่างไร
      ก. ทำให้ทราบความก้าวหน้า
      ข. ทำให้ทราบปัญหาและอุปสรรค
      ค. ทำให้ป้องกันและแก้ไขในสิ่งที่จะไม่ตรงกับวัตถุประสงค์
      ง. ถูกทั้ง  ก.  ข.  และ  ค.
      จ. ไม่มีข้อใดถูก

32. ข้อใดต่อไปนี้แสดงชัดเจนว่า ผู้บังคับบัญชาทำหน้าที่ติดตามงาน ไม่ใช่ควบคุมงาน
      ก. หัวหน้าฝ่ายการเงินตรวจสอบความก้าวหน้าของการวางฎีกาเบิกเงินและขอทราบปัญหาที่เกิดขึ้น
      ข. หัวหน้ากอง ดูแลปฏิบัติงานให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
      ค. อธิบดี สั่งให้วางแผนการปฏิบัติงานเพื่อไม่ให้งานมีปัญหา
                   ง. นายอำเภอ สอดส่องการทำงานในที่ว่าการอำเภอให้บริการประชาชนด้วยความเป็นธรรม
      จ. ถูกทุกข้อ
33. หน้าที่หนึ่งของผู้บังคับบัญชา คือ การพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชา ถามว่า ผู้บังคับบัญชาต้องพัฒนา
      ผู้ใต้บังคับบัญชาในเรื่องใดต่อไปนี้
      ก. ความรู้                        ข. ความสามารถ               
ค. ทักษะ             ง. บุคลิกภาพอื่นๆ            
จ. ถูกทุกข้อ
34. มีผู้รู้หลายคนให้ความหมายที่แตกต่างกันของการศึกษา, การฝึกอบรม,และการพัฒนา โดยเน้นที่เป้าหมาย คือ
      หน่วยงาน ตัวข้าราชการ และงาน ท่านเห็นว่าข้อใดจับคู่กันถูกต้องมากที่สุด
      ก. การฝึกอบรม  มีเป้าหมายที่งาน
      ข. การพัฒนา  มีเป้าหมายที่ตัวข้าราชการ
      ค. การศึกษา  มีเป้าหมายที่หน่วยงาน
      ง. การศึกษา  มีเป้าหมายที่งาน
      จ. การฝึกอบรม  มีเป้าหมายที่ตัวข้าราชการ
35. กิจกรรมเพื่อพัฒนาบุคคลในหน่วยงาน มีดังนี้ ยกเว้นข้อใด
      ก. การสอนงาน
      ข. การสับเปลี่ยนหมุนเวียน
      ค. การให้ทดลองงาน
      ง. การเข้าร่วมประชุมทางวิชาการ
      จ. การตั้งเป็นคณะทำงาน
36. เพื่อให้ได้ผลดีที่สุดในการสอนงานให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา เมื่อพบว่าการปฏิบัติงานของเขายังบกพร่อง ในเรื่องที่ท่าน
      มีความชำนาญเป็นพิเศษ ท่านจะทำอย่างไร
      ก. ส่งไปเข้าหลักสูตรอบรม
      ข. ไม่มอบงานประเภทนั้นให้ทำอีก
      ค. ชี้แจงให้ทราบว่าควรจะต้องทำอย่างไร และมอบหมายให้มีผู้ดูแลใกล้ชิด
      ง. ลองให้เขาทำงานนั้นดูอีกครั้งพร้อมกับตรวจสอบผลงานเป็นระยะๆและร่วมกันคิดแก้ไขปรับปรุงงาน
      จ. ทุกข้อได้ผลดีเท่าๆกัน
37. ข้อใดไม่ใช่ขั้นตอนของกระบวนการฝึกอบรม
      ก. การจัดทำโครงสร้าง แบ่งงานของหน่วยงาน
      ข. การวิเคราะห์หาความจำเป็น
      ค. การสร้างหลักสูตรและจัดทำโครงการ
      ง. การดำเนินงาน
      จ. การประเมินและติดตาม

38. แนวการสอนแนะนำการปฏิบัติงาน มีลำดับขั้นตอนตามข้อใด
      ก. ดำเนินการสอนงาน - กำหนดงานที่จะให้ทำ สอดส่องความก้าวหน้า ตรวจสอบการเรียนรู้และความ
                   สามารถในการปฏิบัติงาน
      ข. กำหนดงานที่จะให้ทำ - ดำเนินการสอนงาน - สอดส่องความก้าวหน้า ตรวจสอบการเรียนรู้และความ
                   สามารถในการปฏิบัติงาน
      ค. ตรวจสอบการเรียนรู้และความสามารถในการปฏิบัติงาน - กำหนดงานที่จะให้ทำ ดำเนินการสอนงาน -
         สอดส่อง   ความก้าวหน้า
      ง. กำหนดงานที่จะให้ทำ - ตรวจสอบการเรียนรู้และความสามารถในการปฏิบัติงาน - ดำเนินการสอนงาน
       สอดส่อง  ความก้าวหน้า
39. ผู้บังคับบัญชาที่เป็นผู้สอนที่ดีแล้ว เมื่อผู้ใต้บังคับบัญชามาปรึกษาในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน
       ตามที่มอบให้เขาทำ ท่านจะดำเนินการตามข้อใดจึงจะเป็นผลดีที่สุด
      ก. บอกเขาไปว่าควรทำอย่างไร
      ข. ขอฟังความเห็นเขาก่อนว่าควรทำอย่างไร
      ค. ให้เขามาหาอีกครั้งหลังจากที่พิจารณาเรื่องนี้แล้ว
      ง. บอกอย่างสุภาพว่าเป็นหน้าที่เขาต้องหาทางแก้ไข ไม่ใช่ท่าน
      จ. ทั้ง 4 ข้อได้ผลดีเท่ากัน
40. ท่านคิดว่าการตั้งคณะทำงานหลายคณะประกอบด้วยข้าราชการจากหลายกองมีประโยชน์ในการบริหารอย่างไร
      ก. ช่วยให้ผู้อำนวยการกองต่างๆ ประสานงานกันดีขึ้น
      ข. ทำให้เกิดการติดต่อประสานงานซึ่งกันและกันมากขึ้น
      ค. ช่วยให้ตัวข้าราชการมีประสบการณ์หลายรูปแบบ
      ง. ถูกทั้งข้อ  ก.  ข.  และ  ค.
      จ. ไม่ใช่ทั้ง  ก.  ข. และ  ค.
41. เพื่อให้การปฏิบัติงานของหน่วยงานสำเร็จได้ผลตามต้องการการประสานงานระหว่างหน่วยงานจึงเป็นสิ่งจำเป็น
      แนวทางการประสานมีดังต่อไปนี้ ยกเว้น ข้อใด
      ก. จัดตั้งผู้ทำหน้าที่ประสานงาน
      ข. จัดการประชุมร่วมกัน
      ค. จัดสถานที่ทำงานใกล้กัน
      ง. จัดให้คนในหน่วยงานหนึ่งเป็นหัวหน้า
      จ. จัดเปลี่ยนหน้าที่ของราชการระหว่างหน่วยงาน

       มีผู้บังคับบัญชาหลายคนกล่าวว่า การจูงใจที่ดีที่สุดให้คนทำงาน ก็คือการให้ในสิ่งที่คนนั้นต้องการ หรือการตอบ
สนองความต้องการของคนในองค์การนั้น ซึ่งตัวตอบสนองความต้องการนั้นมี 2 ส่วน คือที่เป็นรูปธรรมและ นามธรรม
     คำสั่ง : อาศัยข้อความข้างต้นและความรู้ทางการบริหารตอบคำถามข้อ 3 ข้อ ต่อไปดังนี้

42. ตัวสนองที่เป็นรูปธรรมตามข้อความข้างต้น น่าจะหมายถึงอะไร
        ก.เงินเดือน                 ข. ที่ทำงาน                    
ค. ระเบียบกฏเกณฑ์          ง. ผู้บังคับบัญชา               
จ. ถูกทุกข้อ
43. เทคนิคการจูงใจให้ผู้บังคับบัญชาปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพที่เน้นตัวตอบสนอง ที่เป็นนามธรรมนั้นคือ
        ก. ผู้บังคับบัญชาดี         ข. ภูมิอากาศดี               
ค. บรรยากาศที่ดี                       ง. ปฏิบัติตามระเบียบดี        
จ. ถูกทุกข้อ
44. ในกรม   ก. มีรูปแบบการให้รางวัลสำหรับผู้ที่ทำงานดีทุกคนโดยให้เงินรางวัล 10 ของเงินเดือนเท่าเทียมกัน               
          ในแง่ของการจูงใจท่านเห็นว่าข้อใดน่าจะถูกต้องที่สุด
        ก. เห็นด้วย  เพราะเกิดความเป็นธรรม ผู้บังคับบัญชาไม่ลำเอียง
        ข. เห็นด้วย เพราะบรรยากาศในการทำงานดี เมื่อได้เงินเพิ่ม
        ค. ไม่เหมาะสม เพราะตัวตอบสนองของบางคนอาจไม่ใช่ตัวเงินต้องการเกียรติ
      ง. ไม่เห็นด้วย เพราะผู้น้อยได้ตัวเงิน น้อยกว่าผู้ใหญ่มาก
        จ. ไม่เหมาะสม เพราะเงินรางวัลน่าจะมากกว่า 10 %  และได้เท่าๆกัน

         การมอบหมายงาน เป็นเครื่องมือที่จำเป็นของผู้บริหาร เพราะเป็นการกระจายภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบไปให้กับ
ผู้ร่วมงาน ทำให้ผู้บริการมีเวลามาปฏิบัติงานด้านการบริหารได้อย่างเหมาะสมและเกิดผลดีแก่เพื่อนร่วมงาน

    คำสั่ง : อาศัยข้อความข้างต้นและความรู้ทางการบริหารตอบคำถามข้อ 3 ข้อ ต่อไปดังนี้

45. ข้อใดเป็นการมอบหมายงานตามข้อความข้างต้น
        ก. ผู้อำนวยการกอง ให้อำนาจเลขานุการกรม พิจารณาความดีความชอบข้าราชการแทนตน
        ข. อธิบดี ให้อำนาจรองอธิบดีสั่งลงโทษวินัยร้ายแรงแก่ข้าราชการแทนตน
        ค. หัวหน้าฝ่ายทุกคนในกอง ให้อำนาจปู้อำนวยการกอง สั่งลงโทษภาคทัณฑ์ข้าราชการในทุกฝ่าย
        ง. ถูกทั้งข้อ  ก. ข.  และ  ค.
        จ. ไม่มีข้อใดถูก
46. การกระจายภาระหน้าที่ดังกล่าวข้างต้น น่าจะเป็นงานตามข้อใด
        ก. งานนโยบาย              ข. งานวางแผน                  
ค. งานอนุญาตการลา        ง. ถูกเฉพาะข้อ  ก.  และ  ข.             
จ.  ถูกเฉพาะข้อ  ข.  และ  ค.
47. การมอบหมายงานเป็นผลดีแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างไร
        ก. เป็นการสอนงานผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างหนึ่ง
        ข. เป็นการสร้างขวัญในหมู่ผู้ใต้บังคับบัญชา
        ค. ทำให้เกิดความพอใจในการทำงาน
        ง. เฉพาะข้อ  ก.  และ  ข.
        จ. ถูกทั้งข้อ  ก.  ข . และ  ค.

ในการบริหารงานนั้น ผู้รู้หลายท่านเห็นว่าจะประกอบด้วยภารกิจ 4 ประการคือ  1. การวางแผน 2. การจัดองค์การ
3. การอำนวยการ  4. การควบคุมงาน และผู้บังคับบัญชา ( ผบ. )นั้นก็อาจแบ่งได้เป็น 3 ระดับ คือ ผบ.ระดับสูง ผบ. ระดับกลาง และ ผบ. ระดับต้น ซึ่งแต่ละระดับก็ต้องทำหน้าที่บริหารงานทั้งนั้น

         คำสั่ง : อาศัยข้อความข้างต้นและความรู้ทางกรรบริหารตอบคำถามข้อ 6 ข้อ ต่อไปดังนี้
48. ข้อใดข้างล่างนี้ถูกต้อง
      ก. ผบ. ระดับสูงให้ทุ่มเทกับการวางแผนเป็นส่วนใหญ่
        ข. ผบ. ระดับกลางจะทุ่มเทให้กับการควบคุมงานมากกว่า ผบ. ระดับต้น
        ค. คนที่เก่งคิด คือ ผบ. ระดับสูง แต่ ผบ. ระดับกลางจะเก่งงาน
        ง. ถูกทั้ง ข้อ ก. ข. และ ค.
        จ. ไม่มีข้อใดถูก
49. สำหรับ ผบ. ระดับต้นนั้นทุ่มเทให้กับภารกิจจากมากไปน้อย ตามข้อใดข้างล่างนี้
        ก. การวางแผน การจัดองค์การ การอำนวยการ การควบคุม
        ข. การควบคุม การอำนวยการ การจัดองค์การ การวางแผน
        ค. การจัดองค์การ การอำนวยการ การวางแผน การควบคุม
        ง. การอำนวยการ การจัดองค์การ การควบคุม การวางแผน
        จ .ไม่มีข้อใดถูก
50. สำหรับภารกิจของการบริหารประการแรก คือ การวางแผนนั้นมีกิจกรรมดังต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด
        ก. กำหนดวัตถุประสงค์
        ข .กำหนดเป้าหมาย089-8167804
        ค. กำหนดวิธีการ
        ง. กำหนดระเบียบปฏิบัติ
        จ. กำหนดข้อปรับปรุงแก้ไขผลที่จะได้รับ
51. กิจกรรมการรายงาน การประเมินและเปรียบเทียบนั้นจัดอยู่ในภารกิจของการบริหารตามข้อใด
        ก. การวางแผน               ข. การจัดองค์การ
        ค. การอำนวยการ          ค. การควบคุมงาน            
จ. ไม่มีข้อใดถูก
52. การประเมินผลมีประโยชน์ตามข้อใดข้างล่างนี้
        ก. ทำให้ทราบความก้าวหน้าของงานเเอ๊ค อ.วันนรัตน์
        ข. ทำให้ทราบความสามารถของผู้ทำงาน
        ค. ทำให้ทราบว่างานได้ผลตามมาตรฐานเพียงใด
        ง. เป็นแนวทางพิจารณาความดีความชอบ
        จ. ถูกทุกข้อ
53. กิจกรรมการแบ่งงานและมอบหมายงานกันนั้นอยู่ในภารกิจของการบริหารตามข้อใด
        ก. การวางแผน               ข. การจัดองค์การ
        ค. การอำนวยการ          ง. การควบคุมงาน
        จ. ไม่เกี่ยวข้องกับภารกิจการบริหาร
54. การประชุมที่มีประสิทธิผลประกอบด้วยคุณลักษณะดังต่อไปนี้ ยกเว้น ข้อใด
        ก. บรรลุตามจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์
        ข. ใช้เวลาเหมาะสม
        ค. มีผู้เข้าประชุมจำนวนมาก
        ง. ผู้เข้าประชุมส่วนใหญ่พอใจในผลการประชุม
        จ. ผู้เข้าประชุมมีความรู้สึกผูกพันกับผลการประชุม
55. ปัจจัยที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการประสานงานคือ
        ก. ใช้ความพอใจส่วนตัว
        ข. ระบบการติดต่อสื่อสารเป็นไปด้วยดี
        ค. ใช้แผนเป็นหลักในการบริหารงาน
        ง. แย่งกันทำงานเพราะมีผลประโยชน์
        จ. ประสิทธิภาพของหน่วยงานไม่แตกต่างกัน
56. รูปการบริหารงบประมาณโดยทั่วไปมักดำเนินหมุนเวียนคล้ายคลึงกันอย่างที่เรียกว่า วงจรงบประมาณ
        ข้อใดต่อไปนี้ที่ไม่นับรวมอยู่ในวงจรงบประมาณ
        ก. การพิจารณาให้ความเห็นชอบ
        ข. การตรวจการจ้างเเอ็ค081-445-1423
        ค. การใช่จ่ายงบประมาณ
        ง. การเตรียมขออนุมัติงบประมาณ
        จ. การตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณ
57. ความพยายามที่จะพัฒนาสมรรถนะของหน่วยงานอย่างมีแผนและต่อเนื่องด้วยความร่วมมือกันทั้งฝ่ายบริหารและผู้ปฏิบัติหมายถึง
        ก. การพัฒนาคน                        ข. การพัฒนางาน
        ค. การพัฒนาองค์การ        ง. การปรับปรุงงาน                      
จ. การวางแผน
58. สิ่งที่คอยกีดกันไม่ให้มนุษย์มีความคิดริเริ่ม ได้แก่
        ก. ตนเอง                    ข. สังคมและวัฒนธรรม
        ค. หน่วยงาน                  ง. คำตอบคือ  ก.  และ  ข.
        จ. คำตอบ คือ  ก.  ข.  และ  ค.
59. ไม่ใช่ประโยชน์จากการวางแผนโดยตรง คือ
        ก. การบริหารงานมีระเบียบไม่สับสน
        ข. ประหยัดค่าใช้จ่าย
        ค. งานไม่ซ้ำซ้อนเเอ๊คกรุ๊ป
        ง. มีระบบแบ่งงาน การประสานงานและการติดตามงาน
        จ. ผลงานเป็นความสำเร็จของผู้บังคับบัญชา
60. สิ่งที่แสดงให้ทราบว่าผู้บังคับบัญชาคนหนึ่งมีขอบเขตของการรับผิดชอบเพียงใด หมายถึง
        ก. เอกภาพการบังคับบัญชา
        ข. สายการบังคับบัญชา
        ค. ช่วงการบังคับบัญชา
        ง. การแบ่งงาน
        จ. การจัดองค์การ
61. ข้อใดไม่ถูกต้องตามหลักโครงสร้างขององค์การแอ็คกรุ๊ป
        ก. ภารกิจหรือหน้าที่อันชัดเจนขององค์การ
        ข. มีการแบ่งความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยในองค์การ
        ค. มีสายการบังคับบัญชาที่ชัดเจน
        ง. ช่วงการควบคุมงานต้องเท่ากันทุกหน่วยในองค์การ
        จ. ถูกทุกข้อ
62. สูตร E = (ผลงาน - ทรัพยากรบริหารที่ใช้)+ ความพึงพอใจ
        ก. E หมายถึง  พลังงาน
        ข. E หมายถึง  ประสิทธิภาพ
        ค. E หมายถึง  ประสิทธิผล
        ง. E หมายถึง  ความประหยัด
        จ. E หมายถึง  การบริหาร
63. ในกระบวนการบริหารที่เรียกว่า POSDCORB นั้น ตัว D หมายถึง
        ก. Democracy
        ข. Delegating
      ค. Developing
      ง. Directing
      จ. Decisoning
64. ผู้นำที่ไม่พยายามจัดให้มีการประเมินผลงาน เป็นผู้นำแบบ
        ก. อัตตนิยม                   ข .เสรีนิยม         
ค. ประชาธิปไตย                       ง. อนุรักษ์นิยม      
จ. ประสานประโยชน์
65. สิ่งสำคัญที่สุดที่ทำให้องค์การมีลักษณะเคลื่อนไหว (Dynamic)
        ก. การจัดการ                 ข .การติดต่อสื่อสาร         
ค. การสั่งการ                 ง. การส่งข้อมูลย้อนกลับ                 
จ. บุคคล
66. ตามปกติหน่วยงานฝ่ายอำนวยการ (Staff) กับฝ่ายปฏิบัติการ (Line) มักจะมีพฤติกรรม
        ก. ร่วมมือประสานกันทำงาน
        ข. ขัดแย้งโทษกันและกัน
        ค. ต่างคนต่างทำงาน
        ง. มุ่งปฏิบัติตามคำสั่ง
        จ. ถ้าฝ่ายหนึ่งนำอีกฝ่ายจะทำตาม
67. การพิจารณาว่าอำนาจควบคุมบังคับบัญชามารวมอยู่ที่บุคคลใดหรือกลุ่มใดหรือกลุ่มใดโดยเด็ดขาดหรือไม่นั้น
      เป็นการพิจารณาถึง
        ก. การบังคับบัญชาลดหลั่นกัน (Hierachy)
        ข. สายการบังคับบัญชา (Chain of Command)
        ค. ช่วงการบังคับบัญชา (Span of control)
        ง. เอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command)
        จ. ความรับผิดชอบ (Responsibility)
68. อะไรต่อไปนี้ ที่ไม่ใช้หลักของระบบคุณธรรม (Merit System)
        ก. หลักความสามารถ
        ข. หลักความเสมอภาคในโอกาส
        ค. หลักความมั่นคงในอาชีพ
        ง. หลักความขยันซื่อสัตย์
        จ. หลักความเป็นกลางทางการเมือง
69. ผู้บริหารที่เชื่อในระบบการควบคุมและลงโทษเพื่อบุคคลทำงานนั้น เป็นหลัก ของทฤษฎีบริหารที่เรียกว่า
        ก. ทฤษฎีพื้นฐานการจูงใจ
        ข. ทฤษฎี X
      ค. ทฤษฎี Y
        ง. ทฤษฎีรวมอำนาจไว้ที่ศูนย์กลาง
        จ.ทฤษฎีปัจจัย 2 ด้าน
70. MBO คือ การบริหารงาน โดย
        ก. ยึดตัวบุคคล              ข. ยึดวิธีการ
        ค. ยึดวัตถุประสงค์        ง. ยึดผลงาน          
จ. ยึดการประหยัด
71.ปัจจัยในการบริหารตามหลัก 4 M s
        ก. คน ความรู้ วัตถุสิ่งของ การจัดการ
        ข. คน เงิน ที่ดิน การประกอบการ
        ค. แรงงาน ทุน ที่ดิน การประกอบการ
        ง. คน เงิน วัตถุสิ่งของ การจัดการ
        จ. แรงงาน เงิน วัตถุสิ่งของ สภาพแวดล้อม
72. Put the right man on the right job  คือหลัก
        ก. การบรรจุบุคคลให้ดำรงตำแหน่งต่างๆ
        ข. การมอบอำนาจที่
        ค. การพัฒนาตัวบุคคล
        ง. การบริหารงานบุคคลตามระบบอุปถัมภ์
73. การฝึกฝนความรู้สึกไว ( Sensitivity Training) มีประโยชน์อย่างไรต่อผู้เข้าฝึกอบรม
        ก. ช่วยสร้างภาวะผู้นำ
        ข. ช่วยให้สมองไว
        ค. ช่วยให้รู้จักตนเองดีขึ้น
        ง. เพิ่มความสามารถในการตัดสินใจ
74. ในเรื่องการฝึกอบรมแล้ว ถ้าสมมติให้ X เป็นเป้าหมายในการปฏิบัติงาน Y เป็นผลในการปฏิบัติงาน Z เป็น
        ความต้องการในการฝึกอบรม (training – needs ) ข้อใดแสดงความหมายที่ถูกต้อง
        ก. X = Y – Z
      ข. Y = Z – X
ค. Z = X – Y
      ง . Z = Y – X
75. ข้อใดเป็นเครื่องมือที่ใช้ละลายพฤติกรรมของบุคคลในกลุ่มได้ดีที่สุด
        ก. การประชุมปรึกษาหารือ
        ข. การเดินทางไกล พักค้างคืนและมีกิจกรรมร่วมกัน
        ค. การฟังบรรยายหลักวิชาพฤติกรรมศาสตร์
        ง. การจัดงานเลี้ยงสังสรรค์ร่วม
76. ข้อกำหนดหรือกฏเกณฑ์แห่งพฤติกรรมที่สังคมใดสังคมหนึ่งได้กำหนดไว้ โดยการยอมรับนับถือปฏิบัติ
        ของบุคคลส่วนใหญ่ในสังคมนั้นเรียกว่า
        ก. วัฒนธรรม ( culture)
        ข. ค่านิยม  (value)
        ค. ปทัสถาน (norms)
        ง. รูปแบบ (model)
77. ทฤษฎีและแนวความคิดของการบริหารงานบุคคลแผนใหม่ มีดังนี้คือ
        ก. มีแนวความคิดและการดำเนินงานตั้งแต่ยังมิได้รับคนเข้าทำงาน
        ข. มีแนวความคิดและการดำเนินงานเมื่อบุคคลได้รับเลือกสรรแล้ว
        ค.  มีแนวความคิดและการดำเนินงานตั้งแต่เริ่มการคัดเลือก จนกระทั่งบุคคลออกจากงาน
        ง. มีแนวความคิดและการดำเนินงานตั้งแต่ยังมิได้รับคนเข้าทำงานและพิจารณาถึงสถานภาพในอนาคตของ
        ผู้ที่ทำงานอยู่กับทางเศรษฐกิจและสังคม
78. ความเป็นกลางทางการเมือง (Political neutrality) ของข้าราชการหมายถึง
        ก. ข้าราชการไม่เป็นสมาชิกพรรคการเมือง
        ข. ข้าราชการการเมืองไม่มีอำนาจเหนือข้าราชการประจำ
        ค. ข้าราชการไม่ผูกพันกับพรรคการเมืองที่เข้ามาเป็นรัฐบาลหรือไม่ตกอยู่ ใต้อิทธิพลของนักการเมือง หรือ
        พรรคการเมืองใดๆ
        ง. ข้าราชการไม่หาเสียงหรือช่วยเหลือการเลือกตั้งของบุคคลหรือพรรคการเมืองใด
79. ข้อใดเป็นความต้องการระดับสูงสุดของมนุษย์ตามทฤษฎีของ maslow
        ก. ความมั่นคงปลอดภัย
        ข. ความยอมรับนับถือยกย่อง
        ค. ความผูกพันกับกลุ่ม
        ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
80. Grievance Procudure  คือ
        ก. วิธีการสร้างกำลังขวัญให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา
        ข. วิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของผุ้ใต้บังคับบัญชา
        ค. วิธีการรับฟังคำร้องทุกข์ของผู้ใต้บังคับบัญชา
        ง. วิธีการให้คำปรึกษาแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา
81. ในการประชุมร่วมกันเพื่อพิจารณาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง การใช้ ภาวะผู้นำ (Leadership) ในการประชุมนั้นควรเป็น
       หน้าที่ของผู้ใด
        ก. ประธานการประชุม
        ข. สมาชิกอาวุโสที่สุด
        ค. สมาชิกที่พูดเก่งที่สุด
        ง. สมาชิกคนใดก็ได้
82. โดยปกติคนเราจะทำงานโดยใช้ความสามารถเพียง20-30 % เท่านั้น แต่ถ้าได้รับการจูงใจจะใช้ความสามารถ
        ถึง 80-90% เป็นผลงานวิจัยของ
        ก. Robert  T.  Oliver
        ข. William james
     ค. Robert  Dubin
        ง. Argyris
83. คุณสมบัติสำคัญที่เป็นองค์ประกอบเบื้องต้นที่จะทำให้บุคคลทำงานได้ดี คือ
        ก. ความรู้ความสามารถ ความซื่อสัตย์สุจริต
        ข. ความรู้ ความสมารถ ความขยันหมั่นเพียร
        ค. ความรู้ ความสามรถ ความประพฤติ
        ง. ความรู้ ความสามรถ ความตั้งใจจริง
84. ถ้าท่านมีโอกาสเลือกเข้าทำงาน บุคคลต่อไปนี้ท่านจะเลือกใคร
        ก. หัวหน้างานรับผิดชอบเต็มที่ ตัดสินใจในเรื่องต่างๆ แต่ผู้เดียว
        ข. หัวหน้างานที่คอยแก้ปัญหาให้ท่านตลอดเวลา
        ค. หัวหน้างานที่ไม่สอนงานแก่ท่านเลย เพราะต้องการให้ท่านเรียนรู้ด้วยประสบการณ์
        ง. หัวหน้างานที่กระจายอำนาจในการตัดสินใจ
85. ผู้บริหารระดับกลางจักต้องบริหารงานโดยถือข้อใดเป็นหลักสำคัญ
        ก. เป้าหมายขององค์การ
        ข. เป้าหมายส่วนตัวของสมาชิกในองค์การ
        ค. เป้าหมายส่วนตัวของผู้บริหารสูงสุด
        ง. เป้าหมายส่วนตัวของตนเอง
86. การพัฒนาองค์การ (Organization Development)  หมายถึง
        ก. การขยายตัวขององค์การทั้งในด้านอัตรากำลังและงบประมาณ
        ข. การเพิ่มพูนความรู้ ความสามารถให้กับสมาชิกในองค์การ
        ค. การเลื่อนระดับตำแหน่งของผู้บริหารองค์การให้สูงขึ้น
        ง. การทำให้องค์การเปลี่ยนไปสู่สภาพที่พึงปรารถนาโดยมีแผนที่แน่นอนวางไว้ล่วงหน้า
87. การสำรวจวินิจฉัยองค์การ (Diagnosis) คือ
        ก. กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อนำมาวิเคราะห์และระบุสภาพปัญหาองค์การ
        ข. การออกแบบสอบถามความคิดเห็นจากสมาชิกในองค์การ
        ค. การสัมภาษณ์สมาชิกในองค์การ
        ง. การสังเกตบรรยากาศในการทำงานของสมาชิกในองค์การ
88. ผู้ใดเป็นตัวการในการเปลี่ยนแปลง (Change Agent) ที่ดีที่สุดสำหรับการพัฒนาองค์การ
        ก. ที่ปรึกษาจากภายนอกองค์การ
        ข. หน่วยงานพัฒนาองค์การขององค์การนั้นๆ
        ค. ผู้บริหารสูงสุดขององค์การ
        ง. เป็นไปได้ทั้ง ก. หรือ ข. หรือ ค.
89. ความสามารถพื้นฐานของนักบริหาร 3 ประการ ได้แก่ 1) ความสามารถทางด้านเทคนิควิธีการทำงาน
     (Technical Skills)   2) ความสามารถในทางมนุษยสัมพันธ์ (Human Relations Skills)   3)           ความสามารถ
     ในการนึกคิด (Conceptual Skills) เป็นแนวความคิดของผู้ใด
        ก. Robert  L.  katz
        ข. Chester barnard
        ค. James  S. Mooney
        ง. Harold  J. Leavitt
90. การให้หน่วยงานปกครองระดับท้องถิ่นมีอำนาจที่จะพิจารณาตัดสินใจในเรื่องสำคัญๆได้โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
      ในกิจการที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานนั้น หรือในกิจการอื่นใดเรียกว่า
        ก. Assingnment
        ข. Decentralization
        ค. Division of work
        ง. Deconcentration
   91. ทฤษฎีองค์การในปัจจุบันเน้นการศึกษาในเรื่องระบบ (System Approach)หมายถึงการประยุกต์ใช้
     ก. พฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Science)
        ข. บริหารศาสตร์ (Management Science)
        ค. ทฤษฎีคลาสสิค (Ciassical Theory)
        ง. ทั้ง ก.  ข.  ค.
92. องค์การโดยทั่วไปมีแนวโน้มที่จะขยายหน่วยงาน และหน่วยงานที่ขยายนี้โดยมากเป็นการขยายเพื่อจัด
      บริการให้ตนเองทั้งนี้เป็นไปตาม
        ก. M.B.O.
     ข. Parkinson Law
     ค. ผลการศึกษาของ frederrick  W. Taylor
     ง. ผลการศึกษา Hawthorne                
93. พฤติกรรมข้อใดที่แสดงถึงความเป็นผู้นำในระบอบประชาธิปไตย มากที่สุด
        ก. ผู้นำเสนอปัญหาต่อที่ประชุม ขอข้อแนะนำ แต่ตัดสินใจเอง
        ข. ผู้นำเสนอข้อตัดสินของตนเองต่อที่ประชุมแล้วขอทราบความคิดเห็น
        ค. ผู้นำพยายามกระตุ้นเกลี้ยกล่อมในที่ประชุมยอมรับการตัดสินใจของตนเอง
        ง. ผู้เสนอข้อตัดสินใจของตนเองต่อที่ประชุมและยอมเปลี่ยนแปลงบ้าง
94. การจัดรูปองค์การแบบราชการ ( Bureaucratic model) ตามแนวคิด ของ max Weber สามารถนำไปใช้กับองค์การประเภทใด
        ก. หน่วยงานราชการ
        ข. หน่วยงานธุรกิจเอกชน
        ค. หน่วยงานทางทหาร
        ง. หน่วยงานทุกประเภท
95. ข้อใดเป็นองค์ประกอบสำคัญที่สุดในการบริหารงาน
        ก. คนหรือบุคคลหรือบุคลากร (Man)
        ข .เงินหรือทุนหรืองบประมาณ (Money)
        ค. การจัดการหรือการบริหาร (Management)
        ง. ตอบไม่ได้ว่าข้อใดสำคัญที่สุด
96. การจัดแบ่งหน่วยงานแบบ Line และ Staff  มีลักษณะใด
        ก. หน่วยงาน  Staff   เป็นผู้บังคับบัญชาของหน่วยงาน Line
        ข. หน่วยงาน Line เป็นผู้บังคับบัญชาของ Staff 
        ค. หน่วยงาน  Staff   ให้คำปรึกษาและอำนวยความสะดวกแก่ หน่วยงาน Line
        ง. หน่วยงาน Line ให้คำปรึกษาและอำนวยความสะดวกแก่ หน่วยงาน Staff   
97.  หน้าที่สำคัญ 7 ประการของนักบริหาร ซึ่งอักษรข้างหน้าคำนำมาผูกเป็น POSDCORB นั้นใครเป็นผู้กำหนด
        ก. Frederick  W. Taylor
     ข. Henri  Fayol
     ค. Gerbert          A. Simon
     ง. Elyon Mayo
98. เอกภาพทางการบังคับบัญชา ( Unity of command ) หมายถึง
        ก. การมีอำนาจสูงสุดของผู้บังคับบัญชาในองค์การ
        ข. การบริหารที่ปราศจากความขัดแย้ง
        ค. การบริหารที่มีสายการบังคับบัญชาแน่นอน
        ง. การบริหารที่ผู้ใต้บังคับบัญชาจักต้องรับคำสั่งหรือรายงาน เสนอต่อผู้บังคับบัญชาโดยตรงเพียงคนเดียว
99. การกำหนดมาตรฐานในการปฏิบัติงานมีลักษณะอย่างไร
        ก. กำหนดขึ้นเพื่อช่วยการวัดผลหรือประเมินผล
        ข. เป็นส่วนหนึ่งของการวางแผน
        ค. ส่วนใหญ่กำหนดขึ้นโดยอิงประสบการณ์ในอดีต
        ง. ถูกทั้ง 3 ข้อ
100. การบริหารงานโดยวัตถุประสงค์ (Management by Objective ) ช่วยให้เกิดผลข้อใด
        ก. ผู้ปฏิบัติงานควบคุมตัวเองมากกว่าจะถูกควบคุมโดยผู้บังคับบัญชา
        ข. ผู้ปฏิบัติงานถูกควบคุมโดยวิธีกำหนดมาตรฐานและผลงาน
        ค. ผู้ปฏิบัติงานมีความผูกพันสูงต่อผลสำเร็จของงาน
        ง. ทั้ง ก.  ข.  และ  ค.
101. การบริหารงานโดยวัตถุประสงค์ (Management by Objective ) มีหลักสำคัญอย่างไร
        ก. ผู้บังคับบัญชากำหนดวัตถุประสงค์แล้วสั่งให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติตามวัตถุประสงค์นั้น
        ข. ผู้ใต้บังคับบัญชาร่วมพิจารณากับผุ้บังคับบัญชาเพื่อกำหนดวัตถุประสงค์ตามลำดับขั้น
        ค. ไม่ควรกำหนดวัตถุปรสงค์อย่างชัดเจนแน่นอน เพราะอาจทำไม่ได้
        ง. ไม่ควรกำหนดระยะเวลาที่แน่นอน เพราะอาจทำไม่ได้
102. การบริหารงานแบบให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเข้ามีส่วนร่วม ( Participative  Management) นั้นมีลักษณะ คือ
        ก. เป็นยาแก้โรคทางการบริหารได้ทุกชนิด
        ข. ใช้ได้กับทุกองค์การและคนทุกประเภท
        ค. สนับสนุนให้มีการจัดตั้งสหภาพแรงงาน
        ง. การใช้ต้องคำนึงถึงประเภทของคนและประเภทขององค์การก่อน
103. การวางแผน หมายถึง
        ก. การกำหนดวิธีดำเนินการ
        ข. การตัดสินใจโดยพิจารณาจากข้อมูล และเอกสารและกรณีแวดล้อมต่างๆ
        ค. การกำหนดวัตถุประสงค์
        ง. ถูกทั้ง 3 ข้อ


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น